Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.สรรฐติชัย ชีวสุทธิศิลป์-
dc.contributor.authorนครินทร์ สุภาen_US
dc.date.accessioned2016-07-22T09:25:07Z-
dc.date.available2016-07-22T09:25:07Z-
dc.date.issued2015-10-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39435-
dc.description.abstractIn the production process of a pickle factory, pickle's green leave problems were found at 9.2% which did not meet the requirements of fermentation process that must be yellow. These were found after fermentation process. Thus, the purpose for this independent study was to reduce the percentage of green in mustard green fermentation. There are five factors expected to be the cause as follows; 1) pH of fermented water utilized and 2) fermented time; this two factors were derived from a review of related research, 3) the weight ratio of pressed material (% by weight) 4) the salinity of marinade (%) and 5) the ratio of marinade to weight of raw material (liter/kg), Three factors come from the brainstorming of experts, as well as company case studies. Fractional Factorial experiment design was used to solve this problem. Before analyzing, it must have been transformed from response data (% greens) to normal distribution, which is based on the prerequisites of the experimental design. The Box-Cox transformation method was utilized to transformed data and these data were analyzed and selected significant factors (p<0.05) from the normal probability plot of effects. Two main effects and one interaction effect were found significant as follows; 1) pH of marinade utilized 2) time to ferment and interaction effect between time to ferment and salinity of marinade. After that, significant factor (p<0.05) was selected and established equation empirical model in order to find the lowest percentage of greens. The result shows that factors which are significant and the degree of each factor as follows; 1) pH of marinade at 5.0 2) period in the fermentation 6 days and 3) salty marinade 20%. The experiment was confirmed the results of the factors and the level of appropriate factors. It was found that greens reduced from 9.2% to 0.36%en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดเปอร์เซ็นต์ผักใบเขียวในกระบวนการดองผักกาดเขียวปลีโดยการออกแบบการทดลองแบบ แฟกทอเรียลเชิงเศษส่วนen_US
dc.title.alternativePercentage Reduction of Greens in Mustard Green Fermentation Process by Fractional Factorial Designen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในกระบวนการผลิตผักกาดดองของโรงงานแห่งหนึ่ง พบปัญหาผักกาดดองมีใบสีเขียว 9.2% ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดของผักกาดดองที่ต้องเป็นสีเหลือง โดยตรวจพบหลังขั้นตอนดองผักกาดเขียวปลี ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ตั้งวัตถุประสงค์สำหรับการค้นคว้าแบบอิสระนี้คือ ลดเปอร์เซ็นต์ผักใบเขียวในกระบวนการดองผักกาดเขียวปลี มี 5 ปัจจัยที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุ คือ 1) ความเป็นกรด-ด่างของน้ำดอง และ 2) ระยะเวลาในการดอง (2 ปัจจัยนี้ได้จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง) 3) อัตราส่วนน้ำหนักที่ใช้ในการกดทับผัก(น้ำหนักตุ้มทับ (กก.) ต่อน้ำหนักผัก (กก.) x 100) 4) ความเค็มน้ำดอง (%) และ 5) อัตราส่วนปริมาตรน้ำดองต่อน้ำหนักผัก (ลิตร/กก.) (3 ปัจจัยนี้ได้จากการระดมสมองกับผู้เชี่ยวชาญของบริษัทกรณีศึกษา) เนื่องจากมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องจำนวนหลายปัจจัยจึงใช้วิธีการออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียลเชิงเศษส่วน เพื่อแก้ปัญหาผักใบเขียวที่ตรวจพบหลังขั้นตอนดองผักกาดเขียวปลี ก่อนการวิเคราะห์ได้มีการแปลงค่าผลตอบ (%ผักใบเขียว) ให้มีการแจกแจงแบบปกติเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้นของการออกแบบการทดลอง ด้วยเทคนิคการแปลงข้อมูลโดยวิธีของ บ็อก-ค็อก (Box-Cox Transformation) จากนั้นวิเคราะห์ค่าแปลงของข้อมูลเพื่อเลือกปัจจัยที่มีนัยสำคัญ (p<0.05) จากกราฟปกติผลกระทบพบ 2 ผลกระทบหลักและ1 ผลกระทบร่วมอย่างมีนัยสำคัญดังนี้ ผลกระทบหลัก คือ 1) ความเป็นกรด-ด่างของน้ำดอง 2) ระยะเวลาในการดองและผลกระทบร่วม คือ ระยะเวลาในการดองและความเค็มของน้ำดอง เพื่อสร้างสมการทำนายผลและหาค่าเปอร์เซนต์ผักใบเขียวต่ำที่สุด พบว่า ระดับที่เหมาะสมของแต่ละปัจจัยมีดังนี้ 1) ความเป็นกรด-ด่างน้ำดอง 5.0 2) ระยะเวลาในการดอง 6 วันและ 3) ความเค็มน้ำดอง 20% จากนั้นทดลองยืนยันผลจากปัจจัยและระดับของปัจจัยที่เหมาะสม พบว่าสามารถลดสัดส่วนผักใบเขียวจาก 9.2% เหลือ 0.36 %en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
1.Abstract.docxAbstract (words)192.18 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS6.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 184.19 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.