Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรรฐติชัย ชีวสุทธิศิลป์-
dc.contributor.authorกรานต์ หิรัณยวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2016-08-19T08:54:04Z-
dc.date.available2016-08-19T08:54:04Z-
dc.date.issued2015-03-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39498-
dc.description.abstractThe objective of this independent study is to determine the appropriate parameters for drilling a hard disk drive arm. Due to the current parameters when made the process capability of drilling a hard disk drive arm (Cpk) less than standard value at 1.33 and impact to high defect ratio at assembly process around 15%, it is necessary to control the appropriate parameters by conducting fractional factorial design and response optimizer to improvement drilling process. The experimental result show that there were 5 appropriate parameters: Feed rate (A) 100 mm/min. Peck drill cycle (B) 0.5 mm. Spindle speed (C) 3,000 rev/min. Drill run out (D) 0 micron. DLC coating drill (E). These parameters were applied in this organization. The results show that after the parameters were applied the process capability of drilling a hard disk drive arm (Cpk) is more than the target, for the hole position X of hard disk drive arm (Cpk) increased from 0.52 to 2.20 and hole position Y of hard disk drive arm (Cpk) increased from 0.68 to 2.85. The benefit of drilling improvement is it can help reduce the defect of hole position both X and Y position from 15% to 1.2% approximately.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพารามิเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับการเจาะรูแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟen_US
dc.title.alternativeAppropriate Parameters for Drilling Hard Disk Drive Armen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาพารามิเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับการเจาะรูแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ เนื่องจากพบว่าค่าดัชนีชี้วัดความสามารถของกระบวนการเจาะรูแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ (Cpk) มีค่าต่ำกว่าค่ามาตรฐานที่ 1.33 ส่งผลทำให้ไม่สามารถประกอบชิ้นส่วนเข้ากับรูเจาะแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟได้ ซึ่งเกิดเป็นของเสียสูงถึง 15% งานวิจัยฉบับนี้จึงได้ใช้หลักการการออกแบบการทดลองเชิงเศษส่วนร่วมกับการหาพารามิเตอร์ที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้เพื่อปรับปรุงกระบวนการเจาะรูแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ จากผลการทดลองได้ค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมในกระบวนการเจาะรูแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ อัตราการป้อน (A) 100 มม. / นาที ความลึกในการเจาะแต่ละครั้ง (B) 0.5 มิลลิเมตร ความเร็วรอบในการเจาะ (C) 3,000 รอบต่อนาที ค่าความแกว่งหนีศูนย์ (D) 0 ไมครอน และสารเคลือบผิวดอกสว่าน DLC Coating (E) พารามิเตอร์ที่เหมาะสมนี้เมื่อนำไปใช้จริง ยังทำให้ค่าความสามารถของกระบวนการเจาะรูแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในแนวแกน X มีค่าเพิ่มขึ้นจาก 0.52 เป็น 2.20 และ ค่าความสามารถของกระบวนการของตำแหน่งรูเจาะแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในแนวแกน Y เพิ่มขึ้นจาก 0.68 เป็น 2.09 ผลที่ได้จากการปรับปรุงค่าดัชนีชี้วัดความสามารถของกระบวนการเจาะรูแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟนี้ ส่งผลทำให้ของเสียที่เกิดขึ้นสำหรับกระบวนการเจาะรูแขนกลหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟลดลงจากเดิม 15 % เหลือเพียง 1.2 %en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract52.17 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract179.03 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.