Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.อรรถพล สมุทคุปติ์-
dc.contributor.authorพิเศษ รักราษฎร์en_US
dc.date.accessioned2016-09-20T09:52:14Z-
dc.date.available2016-09-20T09:52:14Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39516-
dc.description.abstractThis research has an objective in scheduling the automatic machine assembly process of electronic industry by apply Sequencing rules and technique with in the Arena simulation for the minimal makespan and guidance for efficiency improvement. Since currently scheduling is still depend on experience of production supervisor by roughly estimating the production capacity without the standard time calculation so that cause of waiting, queue for next process that cause to loss of resource usage and higher production cost. From this study, production process by separated machines to 2 production lines and each line support to produce product by the difference group is more suitable than FFS method then simulated the mentioned method by arena program. The program was applied in scheduling the production process by testing the correction if the simulation with hypothesis testing comparing the makespan between real production and the simulation at 95% significant level then apply with 4 Sequencing rules are LPT (Longest Processing Time) that is current method, Palmer, Gupta and CDS (Campbell, Dudek & Smith) for comparing the makespan of each Sequencing rules. The research result found that Palmer method is the most suitable for both production lines that can reduce the makespan for 205.86 minute or 7.0% at line1 and 46.11 minute or 0.7% at line2, Furthermore Palmer method also can contribute machine highest efficiency, less queue time & WIP then reflect to lowest operation cost.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดตารางการผลิตด้วยกฎการจัดลำดับงานใน กระบวนการประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.title.alternativeJob Scheduling Using Sequencing Rules in Electronic Assembly Processen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตารางการผลิตของกระบวนการประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติโดยการจัดตารางการผลิตด้วยกฎการจัดลำกับงานแบบต่างๆและใช้เทคนิคการจำลองสถานการณ์เพื่อหาวิธีการจัดลำดับการผลิตที่เหมาะสมเพื่อให้เวลาการปิดงานของระบบมีค่าน้อยที่สุด และเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เนื่องจากในปัจจุบันการวางแผนจัดตารางการผลิตยังอาศัยประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญโดยจัดตารางการผลิตโดยใช้หลัก LPT ซึ่งการวางแผนการผลิตได้จากการประมาณกำลังการผลิตแบบคร่าวๆ โดยไม่มีเวลามาตรฐานของการทำงานจึงทำให้เครื่องจักรเกิดการรองาน และเกิดการรอคิวของงานเพื่อเข้าสู่กระบวนการผลิตซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรและเป็นการเพิ่มต้นทุนในการผลิต จากการศึกษาการจัดกระบวนการผลิตโดยแบ่งเครื่องจักรเป็น 2 สายการผลิต โดยให้แต่ละสายการผลิตรองรับการผลิตตามลักษณะของผลิตภัณฑ์นั้นเป็นวิธีที่เหมาะสมมากกว่าการจัดกระบวนการผลิตแบบ FFS จึงได้นำไปสร้างแบบจำลองสถานการณ์ด้วยโปรแกรมอารีนาและทำการทดสอบความถูกต้องของแบบจำลองด้วยการทดสอบสมมุติฐานเปรียบเทียบเวลาของการปิดงานจากการผลิตจริงและเวลาการปิดงานจากแบบจำลองสถานการณ์ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จากนั้นจำลองการผลิตด้วยกฎการจัดลำดับงานที่ทำการศึกษาทั้งหมด 4 วิธี ได้แก่ LPT ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้ในปัจจุบัน, Palmer, Gupta และ CDS (Campbell, Dudek & Smith) เพื่อเปรียบเทียบเวลาในการปิดงานของระบบของการจัดตารางการผลิตด้วยกฎการจัดลำดับงานแบบต่างๆ ผลของการค้นคว้าอิสระพบว่าการจัดตารางการผลิตด้วยกฎการจัดลำดับงานของ Palmer เป็นวิธีการที่เหมาะสมสำหรับทั้ง 2 สายการผลิต โดยสามารถลดเวลาการปิดงานของระบบได้ 205.86 นาทีหรือ 7.0% ในสายการผลิตที่ 1 และ 46.11 นาทีหรือ 0.7% ในสายการผลิตที่ 2 และนอกจากนี้วิธีของ Palmer ยังเป็นการจัดลำดับการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้ประโยชน์จะเครื่องจักร เกิดการรอคอยที่น้อยที่สุด และทำให้มีปริมาณงานในกระบวนการน้อยที่สุด จึงส่งผลให้เกิดต้นทุนการผลิตที่ต่ำที่สุดen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)177.02 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract203.26 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS6.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.