Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39528
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์-
dc.contributor.authorพรผกา จอมเพชรen_US
dc.date.accessioned2016-09-20T10:06:03Z-
dc.date.available2016-09-20T10:06:03Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39528-
dc.description.abstractThis reaserch was to study the analysis of supply chain and improvement of purse production system. The objective was to shorten the time taken to deliver goods to customers by designing the matric to measure capability and finding the guideline to improve the implementation of supply chain. Operational efficiency evaluation model which was developed from the principle of SCOR Model, was brought to evaluate operational efficiency 5 areas. The average rating of each area wae as the following; sourse area was at 2.13 point, make area was scored 1.89 piont, deliver area was marked 1.94 point, return area was rated at 1.93 point and maketing area got 2.08 point. The results of operational efficiency in every area were relatively low. The study showed that the direct problem of making area was delayed delivery of raw material. And, it was affected to the making process could not keep up with the delivery date. Therefore, the researcher had presented the guideline of supply chain management by applying techiniques and tools such as work plan, ECRS principle and exchang the information between each other, to improve the performance of the organization in supply chain. After the organization had adopted such a concept, the obviously consequence was able to reduce the length of time in ordering raw material. The following results of evaluation after revision of each area were; sorce area was scored 2.45 point, make area was marked 2.36 point, deliver area was at 2.62 point, return area got 2.45 piont and at 2.54 point was maketing area. Hence, it could be noticed that when the organizations in the same supply chain exchanged the information regarding to their requirement between themselves, it could cause a great advantage of cooperative business.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์และปรับปรุงห่วงโซ่อุปทานของระบบ การผลิตกระเป๋า : กรณีศึกษา บริษัท จินเจอร์ แฟชั่น จำกัดen_US
dc.title.alternativeSupply Chain Analysis and Improvement of Purse Production System : A Case of Ginger Fashion Co.,Ltd.en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์และปรับปรุงห่วงโซ่อุปทานของระบบการผลิตกระเป๋า วัตถุประสงค์เพื่อลดระยะเวลานำในการส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า โดยการออกแบบมาตรวัดเพื่อวัดสมรรถนะและหาแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานของห่วงโซ่อุปทานจึงได้นำแบบประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานที่พัฒนาขึ้นมาจากหลักการของ SCOR Model ทำการประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานทั้งหมด 5 ด้านคะแนนเฉลี่ยในแต่ละด้านได้ดังนี้ ด้าน Source (ฝ่ายจัดซื้อ) ได้คะแนน 2.13 ด้าน Make (ฝ่ายผลิต) ได้คะแนน 1.89 ด้าน Deliver (ฝ่ายการตลาด) ได้คะแนน 1.94 ด้าน Return (ฝ่ายการตลาด)ได้คะแนน 1.92 และด้าน Marketing (ฝ่ายการตลาด) ได้คะแนน 2.08 ผลการประเมินทุกด้านประสิทธิภาพค่อนข้างต่ำ จากการศึกษาข้อมูลพบว่าปัญหาโดยตรงของ ฝ่ายผลิตคือ ได้รับวัตถุดิบช้า ทำให้ไม่สามารถผลิตได้ทันกับวันส่งมอบสินค้า ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้เสนอแนวคิดของการบริหารจัดการโซ่อุปทาน โดยประยุกต์ใช้เทคนิคและเครื่องมือต่างๆ เช่น การวางแผนการทำงาน หลักการการลดความสูญเปล่า(ECRS) และการแลกเปลี่ยนข้อมูลต่างๆ ระหว่างกัน เพื่อปรับปรุงการดำเนินงานขององค์กรในห่วงโซ่อุปทาน ซึ่งหลังจากองค์กรได้นำแนวคิดดังกล่าว เข้ามาใช้ ทำให้สามารถลดระยะเวลานำของการสั่งซื้อวัตถุดิบลงไปได้มาก จะเห็นได้ว่า ผลการประเมินหลังการปรับปรุง ในแต่ละด้านได้คะแนนเฉลี่ยดังนี้ คือ ด้าน Source (ฝ่ายจัดซื้อ) ได้คะแนน 2.45 ด้าน Make (ฝ่ายผลิต) ได้คะแนน 2.36 ด้าน Deliver (ฝ่ายการตลาด) ได้คะแนน 2.62 ด้านReturn (ฝ่ายการตลาด) ได้คะแนน 2.45 และ ด้าน Marketing (ฝ่ายการตลาด) ได้คะแนน 2.54 ดังนั้น จะเห็นได้ว่าเมื่อองค์กรที่อยู่ในสายโซ่อุปทานเดียวกันมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลความต้องการ ในเรื่องต่างๆ ระหว่างกันนั้น จะก่อให้เกิดผลดีในการดำเนินงานร่วมกันเป็นอย่างมากen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)192.87 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract222 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.67 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.