Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39780
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ | - |
dc.contributor.author | สราวุธ ธรรมศิลป์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T12:37:43Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T12:37:43Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39780 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were: 1) to examine and explain the roles of local leaders in the administration of public land designated for common use in Maeta Sub-district, Maeta District, Lampang Province; 2) to analyze the problems and obstacles facing local leaders in the administration; and 3) to propose possible solutions to the problems facing local leaders in the administration of public land designated for common use. The study was conducted as qualitative research based on an analysis of relevant documents, an examination of the contexts in the area, and in-depth interviews with members of the community, who provided specific and objective-based information. The interviewees were 37 people in total: 11 people were the Mayor of Maeta sub-district, the sub-district headman, and 9 village headmen; 20 people were selected from the community to be representative of all people living in the area, with two chosen from each of the 10 villages, one being the leader of the housewives association, and the other was the leader of the elderly club; and 6 government officials working with rules, law, and public land designation for common use among the citizens in the area. The findings revealed that the roles of the local leaders in the administration of public land designated for common use in the area depended on their legal status, as local leaders performed the roles that were authorized by law. The roles of government officials were related to the assistance and support provided to the operations run by the government sectors. The results also showed that the sub-district leader and the village leaders played more important roles in administrating the land than the mayor because those leaders were close to the area, and people living there. This proved that they had a variety of roles in the community, especially the role in making decisions about administrating public and local affairs. This study found problems and obstacles affecting local leaders in the administration of public land designated for common use in the area. This included ignorance of the law and rules concerning the public land, unknown boundaries of that public land, inadequate budgets, complicated and slow bureaucratic procedures, intimidation from influential persons and high-ranked government officials, and a lack of unity and good-conscience in taking care of the public land among the citizens. Besides this, frequent changes in local leadership resulted in discontinuity and further problems in administration. The findings from study have led the authors to several recommendations. First, the government should establish trainings to enhance knowledge regarding rules and the law among community leaders so that they can perform their role in the administration of the land more effectively, facilitating the inspection of boundaries more efficiently, and speed up other important issues regarding public land. When there is a matter in dispute, it is also recommended that the local leaders should work more closely with the government officials to deal with that problem. The government should also allocate an adequate budget to support the government sectors and their officials to co-operate more effectively with the citizens and local leadership in the area. More importantly, there should be continual emphasis on keeping high moral standards in the performance of the duties of these local leaders, whose roles are essential to the public. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ผู้นำในท้องถิ่น | en_US |
dc.subject | การบริหารจัดการ | en_US |
dc.subject | สาธารณสมบัติ | en_US |
dc.subject | พลเมือง | en_US |
dc.title | บทบาทของผู้นำในท้องถิ่นต่อการบริหารจัดการที่ดินอันเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน ในตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง | en_US |
dc.title.alternative | Roles of leaders in local toward public land designated for common use administrating in Maeta Subdistrict, Maeta District, Lampang Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 333.31 | - |
thailis.controlvocab.thash | การปฏิรูปที่ดิน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้นำชุมชน -- แม่ทะ (ลำปาง) | - |
thailis.controlvocab.thash | ชุมชน -- แม่ทะ (ลำปาง) | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 333.31 ส172บ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาบทบาทของผู้นำในท้องถิ่น ต่อการบริหารจัดการที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน ในตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและอธิบายบทบาทของผู้นำในท้องถิ่น ต่อการบริหารจัดการที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน ในตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 2) ศึกษา วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อบทบาทของผู้นำในท้องถิ่นต่อการบริหารจัดการ และ 3) เสนอแนะแนวทาง แก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของผู้นำในท้องถิ่น ต่อการบริหารจัดการที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันในพื้นที่ศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิจัยข้อมูลเอกสาร ศึกษาบริบทในพื้นที่ และสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงตามวัตถุประสงค์ ได้แก่ นายกเทศมนตรี ตำบลแม่ทะ กำนันตำบลแม่ทะและผู้ใหญ่บ้านในตำบลแม่ทะอีกจำนวน 9 คน รวมทั้งสิ้น 11 คน นอกจากนี้สัมภาษณ์บุคคลอื่นๆ ในชุมชนซึ่งเป็นตัวแทนของประชาชนในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ ประธานกลุ่มแม่บ้านและประธานชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 10 หมู่บ้านๆ ละ 2 คน รวมจำนวน 20 คน และข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับระเบียบ กฎหมายและที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันในพื้นที่ศึกษา รวมจำนวน 6 คน รวมกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 37 คน ผลการศึกษาพบว่าบทบาทของผู้นำในท้องถิ่น ต่อการบริหารจัดการที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันในพื้นที่ศึกษา เน้นบทบาทตามสถานะทางกฎหมาย โดยมีบทบาทตามที่กฎหมายกำหนดหรือให้อำนาจไว้ สำหรับบทบาทของเจ้าหน้าที่รัฐคือการช่วยเหลือ สนับสนุนการทำงานของหน่วยงานราชการ การศึกษาพบว่ากำนันตำบลแม่ทะและผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ มีบทบาทในการดำเนินการบริหารจัดการในที่ดินได้มากกว่านายกเทศมนตรีตำบลแม่ทะ มีบทบาทของการเป็นผู้นำชุมชนที่ใกล้ชิดผูกพันกับพื้นที่และประชาชน จึงทำให้มีบทบาทที่หลากหลายต่อชุมชนโดยเฉพาะบทบาทในการตัดสินใจในการบริหารกิจการสาธารณะต่างๆ ในพื้นที่ศึกษาพบปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อบทบาทของผู้นำในท้องถิ่น ต่อการบริหารจัดการที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน ดังนี้ เนื่องจากความไม่รู้กฎหมายระเบียบเกี่ยวกับที่สาธารณะ การไม่ทราบแนวเขตที่ดินสาธารณประโยชน์ มีงบประมาณไม่เพียงพอ ระบบราชการมีขั้นตอนมากและล่าช้า การถูกข่มขู่จากผู้มีอิทธิพลและข้าราชการระดับสูง ประชาชนในพื้นที่ขาดความสามัคคี และจิตสำนึกในการร่วมกันดูแลรักษาที่ดินสาธารณประโยชน์ การเปลี่ยนผู้นำในท้องถิ่นบ่อยครั้งทำให้บทบาทในการบริหารจัดการไม่ต่อเนื่อง และผู้นำในท้องถิ่น มีภารกิจหลายด้านจึงยากต่อการดูแลรักษาที่ดินสาธารณประโยชน์ ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา รัฐควรจัดการอบรม เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับระเบียบ กฎหมายให้แก่ผู้นำในท้องถิ่น เพื่อที่จะสามารถแสดงบทบาทในการบริหารจัดการที่ดิน เร่งรัดการตรวจสอบแนวเขตที่ดินสาธารณประโยชน์ เร่งรัดดำเนินการออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง เมื่อเกิดปัญหาข้อพิพาท ผู้นำในท้องถิ่นควรมีบทบาทร่วมกับเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องแก้ไขปัญหา รัฐควรจัดหางบประมาณให้เพียงพอ ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐและข้าราชการ รวมถึงประชาชนในพื้นที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมกับผู้นำในท้องถิ่นมากขึ้น ที่สำคัญควรมีกระบวนการปลูกฝังจิตสำนึกในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้นำในท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง เพื่อแสดงบทบาทที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและส่วนรวม | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 117.85 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 343.08 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 279.71 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 422.14 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 252.45 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 461.6 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 166.93 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 530.76 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 273.87 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.