Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45986
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นัทมน คงเจริญ | - |
dc.contributor.author | เทิดภูมิ เดชอำนวยพร | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-04T08:29:06Z | - |
dc.date.available | 2018-04-04T08:29:06Z | - |
dc.date.issued | 2557-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45986 | - |
dc.description.abstract | The research is a study about legal systems that related on water resource management. Objectives of this research focus on two aspects. Firstly, water resource should have management in characteristics of common pool resource. Secondly, right to water should be under framework of human rights law. Furthermore, this research has three important contents. The first content is designed principle. That is a principal framework to analysis about natural resource management particularly in water resource. Water users have to define clear boundary. Meanwhile, rules could be flexible for congruence between social and local conditions Process of monitoring and sanction are necessary to control violators. Moreover, dispute settlement remains crucially management without domination from state officers. Finally, the process is connected with other enormous and complexity social ecology. The second content is knowledge of water resource management under contexts of international law. Both international convention and treaty govern right to water and its implementation over domestic law in each party state and including the meaning and component of content of right to water. The final issue is the water resource management in Thai legal system that distinguishes between Thai laws. The laws regulate fundamental rights such as Thai Constitution, Civil and Commercial Codes, and especially specific acts concerning general water resource management and agricultural sector management. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การจัดการทรัพยากรน้ำ | en_US |
dc.subject | กฎหมาย | en_US |
dc.subject | ภาคการเกษตร | en_US |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายในการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในภาคการเกษตร | en_US |
dc.title.alternative | Legal Problems in Participatory Management on Water Resources of Users in Agricultural Sector | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 346.04691 | - |
thailis.controlvocab.thash | สิทธิเกี่ยวกับน้ำ | - |
thailis.controlvocab.thash | น้ำ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการน้ำ | - |
thailis.controlvocab.thash | การใช้น้ำ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 346.04691 ท646ป | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยเรื่องปัญหาทางกฎหมายในการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในภาคการเกษตรเป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายที่มีความเกี่ยวพันกับการจัดการทรัพยากรน้ำโดยเป้าหมายสำคัญของงานวิจัยที่ต้องตระหนักมีอยู่สองอย่างคือ หนึ่ง ทรัพยากรน้ำควรมีการจัดการในลักษณะของทรัพยากรร่วม และสองคือ สิทธิในทรัพยากรน้ำที่ควรจะอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายสิทธิมนุษยชน และงานวิจัยฉบับนี้มีเนื้อหาสำคัญอยู่ 3 ส่วนคือ ส่วนแรกเป็น กรอบความคิดเชิงหลักการที่เรียกว่าการออกแบบเชิงสถาบัน ซึ่งเป็นกรอบเชิงความคิดที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์ถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทรัพยากรน้ำของตัวผู้ใช้น้ำที่ต้องมีการระบุขอบเขตที่ชัดเจน มีกฎเกณฑ์กติกาที่สามารถยึดหยุ่นตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและท้องถิ่นได้ และยังต้องมีการตรวจตราและลงโทษผู้ที่กระทำผิดกฎเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ รวมทั้งยังต้องมีการจัดการข้อพิพาทที่เกิดขึ้นพร้อมกับไม่ถูกควบคุมครอบงำโดยหน่วยงานของรัฐและยังสามารถที่จะเชื่อมโยงกับระบบนิเวศอื่นๆที่มีขนาดและความซับซ้อนมากขึ้น ส่วนที่สอง เป็นส่วนขององค์ความรู้ในการจัดการทรัพยากรน้ำในบริบทของกฎหมายระหว่างประเทศ โดยไม่ว่าจะเป็นอนุสัญญาหรือ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ ที่มีการระบุถึงสิทธิในทรัพยากรน้ำและการปรับใช้สิทธิในทรัพยากรน้ำให้มีบทบาทต่อกฎหมายภายในของแต่ละประเทศ ตลอดจนการให้ความหมายในเนื้อหาของสิทธิในทรัพยากรน้ำและส่วนสุดท้ายคือ การจัดการทรัพยากรน้ำในระบบกฎหมายไทย ที่แบ่งลักษณะของกฎหมายที่มีไว้ในการจัดการออกเป็นในกลุ่มของ กฎหมายที่มีความเกี่ยวข้องกับหลักสิทธิพื้นฐานทั้งรัฐธรรมนูญหรือประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์เป็นต้น และ ในส่วนของพระราชบัญญัติเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรน้ำโดยทั่วไป และ ในภาคการเกษตร | en_US |
Appears in Collections: | LAW: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 308.6 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 212.09 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 384.39 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 428.32 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 598.83 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 482.8 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 317.04 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 249.27 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 597.9 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 297.5 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.