Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศศิธร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorชัยพฤกษ์ ตั้งจิตคงพิทยาen_US
dc.date.accessioned2018-04-09T02:39:58Z-
dc.date.available2018-04-09T02:39:58Z-
dc.date.issued2557-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46024-
dc.description.abstractThis descriptive study employed qualitative data collection. The primary objective was to understand the practical roles of dental therapist in Lampang Provience. The subjects of this study were 15 dental therapists who work at district hospital, 2 lecturers of Sirindhorn College of Public Health and a secretary of Dental Auxiliary Association. The methodology used in this study was semi-structured interview and the data were collected between April - August 2014. Content analysis was used in this study. The results revealed that the practical roles of dental therapist at District Hospital related to an uncleared public health policy and dynamic changes in the preparation of dental therapists from Sirindhorn College of Public Health. As a result, the practical roles of dental therapist depended on conditions and regulations of each province and hospital they were working for. Conditions at province level consisted of working culture that rather strictly followed policy and indicators of the Ministry of Public Health . At the hospital level, it depended on policy of dental personnels in each dental department, especially manpower administration. Moreover, dental therapist felt legally insecure while providing dental treatment. They found that preparation from the college was not enough for working in District Hospital and felt inferior to the dentists. Since there were the dynamic changes of their roles, the dental therapists adapted themselves to perform different task by learning from their daily practice, learning from other dental therapists who had more experience, participating in the academic conferences, enrolling the continuing educations, and forming their group supports both in daily life and as Dental Auxiliary Association.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectทันตาภิบาลen_US
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชนen_US
dc.titleบทบาทหน้าที่ของทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานจริงใน โรงพยาบาลชุมชน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลชุมชน 4 แห่งในจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativePractical Roles of Dental Therapist Working at District Hospital : A Case Study of 4 District Hospitals in Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc617.6-
thailis.controlvocab.thashการดูแลทันตสุขภาพ-
thailis.controlvocab.thashทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashทันตาภิบาล -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลชุมชน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 617.6 ช116บ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเชิงพรรณนาด้วยวิธีการเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานจริงในโรงพยาบาลชุมชน ทำการศึกษาในจังหวัดลำปาง กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาประกอบด้วยทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 15 คน อาจารย์จากวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจำนวน 2 คน เลขานุการสมาคมทันตาภิบาล จำนวน 1 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง (semi-structured interview) ในระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 จากนั้นนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า บทบาทหน้าที่ของทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานจริงในโรงพยาบาลชุมชน มีความเกี่ยวข้องกับความไม่ชัดเจนของนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและการเตรียมความพร้อมของทันตาภิบาลจากวิทยาลัยการสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ความไม่ชัดเจนดังกล่าวส่งผลให้บทบาทหน้าที่ของทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานจริงในโรงพยาบาลชุมชนขึ้นกับเงื่อนไขและข้อกำหนดในระดับจังหวัดและระดับโรงพยาบาล โดยในระดับจังหวัดประกอบด้วยวัฒนธรรมการทำงานที่มีการทำงานตามนโยบายส่วนกลางอย่างเคร่งครัดและการติดตามงานผ่านตัวชี้วัด ส่วนในระดับโรงพยาบาลคือแนวคิดในการทำงานของทันตบุคลากรในฝ่าย ซึ่งประกอบด้วย การบริหารกำลังคนภายใต้จำนวนและประสบการณ์ของทันตบุคลากรและเก้าอี้ทันตกรรมที่มีอยู่ ปริมาณคนไข้ที่มารับบริการในแต่ละวัน ทันตาภิบาลมีทัศนะต่อการทำงานว่ารู้สึกไม่ปลอดภัยทางกฎหมายในขณะที่ปฏิบัติงานด้านรักษาพยาบาล การเตรียมความพร้อมจากวิทยาลัยไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน และรู้สึกว่าตนเองด้อยกว่าทันตแพทย์ ภายใต้บทบาทที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทันตาภิบาลมีการปรับตัวเองในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน เช่น การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของตนเองเรียนรู้ผ่านทันตาบาลที่มีประสบการณ์มากกว่าในฝ่ายทันตกรรม การเข้าร่วมประชุมวิชาการ การศึกษาต่อเนื่องและมีการรวมกลุ่มกันระหว่างทันตาภิบาลด้วยกันเพื่อช่วยเหลือกันทั้งในชีวิตประจำวันและเพื่อต่อรองความก้าวหน้าในวิชาชีพen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT236.26 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX1.74 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1251.5 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2379.61 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3258.73 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4681.41 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5328.41 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT258.92 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER723.06 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE193.33 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.