Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46047
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สรรฐติชัย ชีวสุทธิศิลป์ | - |
dc.contributor.author | วรชัย ชาบาเหน็จ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-09T09:05:57Z | - |
dc.date.available | 2018-04-09T09:05:57Z | - |
dc.date.issued | 2558-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46047 | - |
dc.description.abstract | The study investigated the process improvement in manufacture of Arm coil actuator products by Using Six Sigma Techniques. The objective of this study was to reduce the defects rates by 50%. In order to accomplish the result, several statistical and quality improvement tools have been used. As the initial step, we used Pareto chart to identify problems that appear in manufacturing; which focused on the highest value defects. Then the measurement of the amount of variation was analyzed by GR&R Attribute. Fish bone diagram together brainstorming Techniques to compile factors. Which screen by Cause and effect matrix diagram and then analyzed by Hypothesis test for reject The case not concern, The design of experiments has been carried out to factors relationship with defects ratio.Applied the Response optimizer Function in method finding best condition of process. The control phase applied to use control chart for maintenance factors condition. The findings indicated that the most-produced Arm coil actuator .Brink-2H had highest defects rate in process solder pin insert by 1.51%. After conducting the six-sigma principle, a reduction of about 50% in the amount of defects was achieved ,which resulted in reducing defect ratio in Solder pin insert process from 1.51% to 0.58% or defect reduce from current 61.7%. And Process yield of solder pin insert process increased from 98.49 % to 99.42%. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | เทคนิคซิกซ์ซิกม่า | en_US |
dc.subject | การลดของเสีย | en_US |
dc.subject | หัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ | en_US |
dc.title | การลดของเสียในกระบวนการประกอบแขนจับของหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟโดยใช้เทคนิค ซิกซ์ ซิกม่า | en_US |
dc.title.alternative | Waste Reduction in Arm-coil Assembly Process of Hard Disk Drive Slider Using Six Sigma Techniques | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 658.5 | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมกระบวนการผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมคุณภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 658.5 ว172ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง การปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยเทคนิคซิกซ์ ซิกม่า กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนของแขนจับหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ โดยมีวัตถุประสงค์ในการลดจานวนของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตให้มีลดลงในสัดส่วนร้อยละ 50 การเริ่มศึกษาเริ่มจากขั้นตอนการระบุปัญหาด้วยแผนภูมิพาเรโต้ในการเลือกประเภทของเสียที่มี ศักยภาพในลาดับสูงแล้วจึงดาเนินการตามขั้นตอนการวัดโดยเริ่มจากการใช้ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ระบบการวัดด้วยวิธี GR&R แบบ Attribute เพื่อตรวจสอบความสามารถของการวัด และใช้เทคนิคแผนผังเหตุและผล คู่กับเทคนิคการระดมสมอง ในการรวบรวมแนวคิดจากสมาชิก ซึ่งถูก คัดกรองในเบื้องต้นด้วยตารางเมตริกซ์ เหตุและผล ซึ่งจะถูกวิเคราะห์ต่อไปด้วยการทดสอบสมมุติฐานและวิธีทางสถิติในขั้นตอนการวิเคราะห์ หลังจากนั้นจึงทาการออกแบบการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสีย และหาค่าสภาวะเหมาะสมของแต่ละปัจจัยที่ทาให้เกิดของเสียน้อยที่สุดในขั้นตอนการปรับปรุง ในขั้นตอนสุดท้ายเป็นการนาผลการศึกษาไปทาการปรับปรุงกระบวนการผลิตและทาการออกแบบวิธีการควบคุมสภาวะที่เหมาะสมของแต่ละปัจจัยในกระบวนการที่ปรับปรุงแล้ว ด้วยวิธีแผนภูมิควบคุม และวิธีทางสถิติ จากการศึกษาพบว่าผลิตภัณฑ์แขนจับหัวอ่านฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ ในรุ่น Brink-2H เป็นรุ่นที่มีจานวนการผลิตสูงที่สุด และมีสัดส่วนของเสียที่ในกระบวนการสวมอัดที่เป็นขั้นตอนย่อยของการผลิตที่มากที่สุดคือร้อยละ 1.51 แต่เมื่อประยุกต์ใช้เทคนิคซิกซ์ ซิกม่าในการศึกษาและปรับปรุงกระบวนการดังกล่าวสามารถลดสัดส่วนของเสียสวมอัดลดลงจากร้อยละ 1.51 ลดลงเหลือร้อยละ 0.58 หรือคิดเป็นร้อยละ 61.7 ซึ่งบรรลุเป้าหมาย และประสิทธิภาพในกระบวนการการสวมอัดเพิ่ม จ จากร้อยละ 98.49 เพิ่มเป็นร้อยละ 99.42 โดยไม่มีปัญหาข้างเคียงตามมาจากการปรับปรุงแก้ไข กระบวนการด้วย เทคนิคซิกซ์ ซิกม่า | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 54.1 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 164 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
full.pdf | Full IS | 13.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.