Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46102
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา เฟื่องฟูสกุล-
dc.contributor.authorธัญพัชร ศรีมารัตน์en_US
dc.date.accessioned2018-04-17T03:55:43Z-
dc.date.available2018-04-17T03:55:43Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46102-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study were to 1) To study the cultural transformation in building identity that becomes commodification of Ping Nakara Boutique Hotel and Spa, Chiang Mai. 2) To study the pattern of sign or representation from the cultural transformation that becomes commodification of Ping Nakara Boutique Hotel and Spa, Chiang Mai. 3) To study the result of the cultural transformation that becomes commodification of Ping Nakara Boutique Hotel and Spa, Chiang Mai. The theoretical concept of Identity, Culture Industry, Semiology and Commodification. The study found that Lanna culture has been transformed and applied to the commodities which values to the consumers as well as adds price to the entrepreneurs. The identity of Ping Nakara Boutique Hotel and Spa, Chiang Mai springs from adapting and absorbing the identity of Lanna culture that has been existed a long time ago in the area and the contemporary art of the western countries, building the meaning and blending with the original or existed life style. Every signs existed in the hotel is the major components in building the meaning and adding the value to the hotel business. Moreover, it creates the identity as well as value to the consumers due to the historical story, nature, and culture and ultimately becomes the commodification through the selections of the entrepreneur, the architects, and the designers. However, the presentation of the hotel contains the hidden meanings according to the process of creating myths that already existed in the history, nature, and culture in the past which has been reduced, hidden, and distorted as a sign. This relates to the others signs, becoming the ordinary story. People then realized it as a common sense. Later, they has been unconsciously implanted the idea and forget about the truth. Nonetheless, the process of cultural transformation to commodification reflects the over prioritization in consuming the representations rather than the truth. Market strategy becomes the significant factor that causes the outstanding and unique. Plus, it is subject to the experience and satisfactory of the location, mood and feeling in order to attracts most consumers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรงแรมปิงนครา บูติก โฮเทล แอนด์สปา เชียงใหม่en_US
dc.subjectอัตลักษณ์en_US
dc.subjectวัฒนธรรมen_US
dc.titleอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมกับกระบวนการกลายเป็นสินค้า : กรณีศึกษา โรงแรมปิงนครา บูติก โฮเทล แอนด์ สปาเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCultural Identity and Commodification : A Case Study of Ping Nakara Boutique Hotel and Spa, Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc306.095936-
thailis.controlvocab.thashโรงแรมปิงนครา บูติก โฮเทล แอนด์สปา เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashวัฒนธรรมไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashการอนุรักษ์วัฒนธรรม -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 306.095936 ธ113อ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษากระบวนการแปรรูปวัฒนธรรมในการสร้าง อัตลักษณ์สู่การกลายเป็นสินค้า ของโรงแรมปิงนครา บูติก โฮเทล แอนด์ สปา เชียงใหม่ (2) เพื่อศึกษารูปแบบสัญลักษณ์หรือภาพแทนจากการแปรรูปวัฒนธรรมสู่การกลายเป็นสินค้าของโรงแรมปิงนครา บูติก โฮเทล แอนด์ สปา เชียงใหม่ (3) เพื่อศึกษาผลการแปรรูปวัฒนธรรมสู่การกลายเป็นสินค้าของโรงแรมปิงนครา บูติก โฮเทล แอนด์ สปา เชียงใหม่ โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอัตลักษณ์ อุตสาหกรรมวัฒนธรรม สัญวิทยา และกระบวนการกลายเป็นสินค้า เป็นกรอบในการศึกษา ผลการศึกษา พบว่า วัฒนธรรมล้านนาได้ถูกนำมาแปรรูป ดัดแปลงให้เป็นสินค้าที่สามารถ ให้คุณค่าแก่ผู้บริโภค และยังสามารถเพิ่มมูลค่าให้แก่ผู้ประกอบการ อัตลักษณ์ของปิงนครานี้เกิดจากการเปิดรับและซึมซับอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมล้านนาที่มีอยู่อย่างยาวนาน และนำศิลปะทางตะวันตกมาผสมผสานกับความร่วมสมัย เพื่อมาผลิตสร้างความหมายให้ผสมผสานกับวิถีชีวิตดั้งเดิม สัญญะทุกสัญญะที่ปรากฎตัวอยู่ภายในโรงแรมทั้งหมดเป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างความหมาย และสร้างคุณค่าให้กับธุรกิจโรงแรม อีกทั้งยังเป็นการสร้างอัตลักษณ์และคุณค่าให้กับผู้บริโภค โดยอาศัยเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ธรรมชาติและวัฒนธรรมมาทำให้กลายเป็นสินค้าผ่านการเลือกสรรของผู้ประกอบการ สถาปนิก นักออกแบบ แต่สิ่งที่ได้ถูกนำเสนออกมานั้นแท้จริงแล้วมักมีนัยยะแฝงอาศัยอยู่ ซึ่งเป็นไปตามกระบวนการสร้างมายาคติ ที่ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่มีอยู่ในอดีตได้ถูกลดทอน ปกปิด อำพราง บิดเบือน ในฐานะของการเป็นสัญญะหนึ่งๆ ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันระหว่างสัญญะทุกสัญญะให้กลายเป็นเรื่องของธรรมชาติ ถูกทำให้คุ้นชินจนกลายเป็นสามัญสำนึก และถูกปลูกฝังในความคิดของเราให้เผลอลืมไปกับความหมายเหล่านั้นอย่างแนบเนียน อีกทั้งกระบวนการแปรรูปอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมให้กลายเป็นสินค้ายังสะท้อนถึงการให้ความสำคัญกับการบริโภคทางภาพลักษณ์มากกว่าความเป็นจริง กลยุทธ์ทางการตลาดจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้สามารถสร้างความโดดเด่นและแตกต่างได้นั้นจะต้องเกี่ยวข้องกับการสร้างประสบการณ์ ความพึงพอใจที่แตกต่างของสถานที่ อารมณ์ และความรู้สึก เพื่อที่จะดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคให้ได้มากที่สุดen_US
Appears in Collections:GRAD-Humanities and Social Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docxAbstract (words)60.56 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 198.12 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS7.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.