Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคมสัน สุริยะ-
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.authorธนิกูล บุญศรีตันen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T02:26:55Z-
dc.date.available2018-05-02T02:26:55Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48600-
dc.description.abstractAn Analysis of Digital Economy Related Personal Expenditure in Thailand has an aim to survey personal expenditure that is related to digital economy, to study factors that determine digital economy related personal expenditure, and to analyze the impact of such personal expenditure on an individual’s wellbeing. An online questionnaire is used as a data collection method for 444 samples. The data is analyzed through a descriptive statistics approach to describe the survey results. Seemingly Unrelated Regression Estimator (SURE) is also used to study the factors affecting personal expenditure related to digital economy, while ordered probit is the analysis method to identify the impact of digital economy related personal expenditure on an individual’s wellbeing. According to the study results, those having their workplace in Chiang Mai represent the majority of the samples (60.81 percent). Most of them use the Internet at home (more than 75 percent) and more than 80 percent use the Internet during 18.01 – 24.00. LINE is the most popular application. More than 89 percent of the samples use the Internet through social media websites. The most common purposes are for chatting, making phone calls, and social networking (more than 75 percent). The average spending through online trading is 55,974.75 baht per month. Most of the samples use the Internet for entertainment and have not benefited from the Internet by using it for learning or increasing income. On the impact of digital economy related personal expenditure on individuals’ wellbeing, the study found that Internet users who spend little on advertising media and much on online trading and air ticket purchase are happier in terms of dining. Meanwhile, those who have small expenditure on online learning and large expenditure on downloads are happier working. Internet users whose large portion of spending is on online air ticket purchase are happier doing hobbies, while those who spend little on movies have a happier family. On the other hand, Internet users who spend much on applications are happier from generating higher extra incomes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการใช้จ่ายส่วนบุคคลen_US
dc.subjectเศรษฐกิจดิจิทัลen_US
dc.titleการวิเคราะห์การใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัลในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeAn Analysis of Digital Economy Related Personal Expenditure in Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.054678-
thailis.controlvocab.thashการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์-
thailis.controlvocab.thashการตลาดอินเทอร์เน็ต-
thailis.manuscript.callnumberว 658.054678 ธ153ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องการวิเคราะห์การใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัลในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจพฤติกรรมการใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัล ศึกษาปัจจัยกำหนดการใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัล และวิเคราะห์ผลกระทบของการใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัลกับความกินดีอยู่ดีของบุคคล โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลจำนวน 444 ตัวอย่าง และวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา เพื่อบรรยายผลการสำรวจพฤติกรรมการใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัล ประกอบกับวิธี Seemingly Unrelated Regression Estimator (SURE) เพื่อศึกษาปัจจัยกำหนดการใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัลใช้วิธีการวิเคราะห์ด้วยวิธี Ordered Probit เพื่อหาผลกระทบของการใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัลกับความกินดีอยู่ดีของบุคคล จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีสถานที่ทำงานอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่มากที่สุด จำนวนร้อยละ 60.81 โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้อินเทอร์เน็ตที่บ้าน มากกว่าร้อยละ 75 และจะใช้อินเทอร์เน็ตช่วงเวลา 18.01 – 24.00 น. มากกว่าร้อยละ 80 และมีการใช้แอพพลิเคชันไลน์ (Line) มากที่สุด โดยมีการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านเว็บไซต์โซเชียลมีเดีย มากกว่าร้อยละ 89 เพื่อกิจกรรมในการการพบปะพูดคุย คุยโทรศัพท์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ มากกว่าร้อยละ 75 และพบว่ามีค่าใช้จ่ายสำหรับกิจกรรมการซื้อขายหุ้นออนไลน์โดยเฉลี่ยเท่ากับ 55,974.75 บาท/เดือน ซึ่งจะเห็นได้ว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ใช้เพื่อความบันเทิงเท่านั้น ยังไม่ได้มีการนำประโยชน์และคุณค่าของอินเทอร์เน็ตมาใช้เพื่อแสวงหาความรู้เพิ่มเติม หรือสร้างรายได้ให้เพิ่มมากขึ้นอย่างแท้จริง ส่วนด้านผลกระทบของการใช้จ่ายส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัลกับความกินดีอยู่ดีของบุคคล พบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีค่าใช้จ่าย ด้านสื่อโฆษณาน้อย มีค่าใช้จ่ายในการซื้อขายหุ้นออนไลน์และซื้อตั๋วเครื่องบินออนไลน์มาก จะมีความสุขด้านความอุดมสมบูรณ์ของอาหารการกินที่มากกว่า และพบว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีค่าใช้จ่ายในการเรียนรู้ออนไลน์น้อย และมีค่าใช้จ่ายในดาวน์โหลดข้อมูลมาก จะมีความสุขในการทำงานที่มากกว่า ส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อตั๋วเครื่องบินออนไลน์มาก จะมีความสุขในการทำงานอดิเรกที่มากกว่า และพบว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีค่าใช้จ่ายในการดูภาพยนตร์น้อย จะมีครอบครัวที่มีความสุขที่มากกว่า ส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีค่าใช้จ่ายในการใช้ Applications มาก จะมีความสุขจากการสร้างรายได้ ได้อย่างมากมาย (รายได้เสริม) ที่มากกว่าen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)180.54 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract182.98 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.