Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48645
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร. วรลัญจน์ บุณยสุรัตน์-
dc.contributor.authorต่อศกุล พันธุ์พิพัฒน์en_US
dc.date.accessioned2018-05-09T04:26:53Z-
dc.date.available2018-05-09T04:26:53Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48645-
dc.description.abstractThis thesis entitled “Analysis of Thailand’s Creative Economy Policy : A Case Study of Applying Chiang Mai Creative City Development” aim to 1) Examine into propulsion of policy in concept of Thailand Creative Economy. 2) To study the situational development of Chaingmai Creative City. 3) To synthesize the utilization in the expansion of Thailand Creative Economy and Chaingmai Creative City based on a framework of Creative Economy, Cultural Industry, Creative Class, Creative City, and Chaing Mai Creative City. This thesis employed a qualitative research methodology through in-depth interview of ten people from three group stakeholders, being: executives or officers who concerned to Chaing Mai creative city, specialist or researcher and entrepreneur, and a quantitative research methodology through a survey using questionnaire distributed to sample group of people in Chaing Mai. The result from the qualitative study showed that the structure of propulsion of policy in concept of Thailand Creative Economy consists of three issues, being: (1) creative policy management, (2) research and development, and (3) encouragement the creative economy. And the utilization of Thailand Creative Economy structure to Chaing Mai creative city Development consists of five issues, being: (1) Chaing Mai creative city management system, (2) Chaing Mai creative city research and development, (3) Cooperation and contribution to Chaing Mai creative city, (4) Communication of Chaing Mai creative city, and (5) Chaing Mai creative city Development and support. The quantitative research found that the perception from information of Policy of Creative Economy and Chaing Mai creative city development is at the low level (mean of 2.19), understanding about the policy of creative economy and Chaing Mai creative city development is at the middle level (mean 2.83), while the contribution to Chaing Mai creative city is also at the low level (mean of 2.52). The first development approach from general public is support in human resource management in order to essentially continue in development of Chaing Mai (mean of 4.41). The result from qualitative and quantitative research can be integrated and synthesized into 5 dimensions of a policy of Thailand Creative Economy with ChaingMai creative city development, being: (1) appropriate management system, (2) research and development, (3) cooperation and contribution, (4) sustainable development, and (5) communication of creative economy and creative city.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศ: กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้กับการพัฒนาเชียงใหม่เมือง สร้างสรรค์en_US
dc.title.alternativeAnalysis of Thailand’s Creative Economy Policy: A Case Study of Applying to Chiang Mai Creative City Developmenten_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เรื่อง การวิเคราะห์นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศ : กรณีศึกษา การประยุกต์ใช้กับการพัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาสถานการณ์การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาในบริบทแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของ ประเทศ 2) เพื่อศึกษาสถานการณ์การขับเคลื่อนการพัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ 3) เพื่อสังเคราะห์แนวทางการประยุกต์ใช้การพัฒนาในบริบทแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศกับการพัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ โดยมีกรอบแนวคิดหลักในการศึกษา คือ แนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ แนวคิดอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ แนวคิดชนชั้น สร้างสรรค์ แนวคิดเมืองสร้างสรรค์ แนวคิดการพัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์กระบวนการสูญเสียคุณลักษณะอินเด็กซ์ซิคอลลิตี้ในภาพถ่ายเกิดขึ้นในสองระดับการให้ความหมายและการสูญเสียคุณลักษณะอินเด็กซ์ซิคอลลิตี้เมื่อภาพถ่ายมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม ผู้วิจัยสรุปกระบวนการสูญเสียได้เป็นสองระดับดังนี้ การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการสัมภาษณ์เจาะลึกจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3 กลุ่มคือ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ นักวิชาการหรือนักวิจัย และผู้ประกอบการ จำนวน 10 คน และใช้ระเบียบวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ในจังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า โครงสร้างประเด็นการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาในบริบทแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศ มี 3 ประเด็นคือ 1) การจัดการนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 2) การวิจัยและพัฒนา 3) การพัฒนาและสนับสนุนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และโครงสร้างประเด็นการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์กับการพัฒนาเชียงใหม่ เมืองสร้างสรรค์มี 5 ประเด็นคือ 1) ระบบการจัดการเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ 2) การวิจัยและ พัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ 3) ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมกับการพัฒนาเชียงใหม่เมือง สร้างสรรค์ 4) การสื่อสารการพัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ 5) การพัฒนาและสนับสนุน เชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ ผลการวิจัยเชิงประมาณ พบว่า การรับรู้ข่าวสารนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์และการพัฒนา เชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์อยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย 2.19) ด้านความเข้าใจเกี่ยวกับ นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์และการพัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.83) ด้านการมีส่วนร่วมกับการพัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์อยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย 2.52) แนวทางการพัฒนาที่ประชาชนต้องการเป็นอันดับแรก คือควรสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาเชียงใหม่ต่อไป (ค่าเฉลี่ย 4.41) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ นำมาบรูณาการและสังเคราะห์ได้แนวทางการจัดการ นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศกับการประยุกต์ใช้พัฒนาเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ 5 ด้าน 1) ระบบการจัดการที่เหมาะสม 2) การวิจัยและพัฒนา 3) ความร่วมมือและการมีส่วนร่วม 4) แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน 5) การสื่อสารนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์และเมืองสร้างสรรค์en_US
Appears in Collections:GRAD-Humanities and Social Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.