Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68890
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมเจตน์ ไฝ่ศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-16T07:36:46Z | - |
dc.date.available | 2020-07-16T07:36:46Z | - |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.citation | เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 35,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 55-67 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-6920 | en_US |
dc.identifier.uri | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_358.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68890 | - |
dc.description | เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม | en_US |
dc.description.abstract | การยืดกระดูกรองรับฟันเป็นวิธีการใหม่ซึ่งเป็น แนวทางเลือกในการผ่าตัดรักษา เพื่อแก้ไขขนาดที่เล็กผิด ปกติของโครงสร้างบริเวณกระดูกรองรับฟัน การยืดกระดูก รองรับฟันคือ การสร้างเนื้อเยื่อกระดูกรวมทั้งเนื้อเยื่ออ่อน รอบข้างขึ้นมาใหม่ โดยการควบคุมให้เกิดการเคลื่อนย้าย ชิ้นกระดูกอย่างช้าๆ ในบริเวณกระดูกที่ได้รับการเตรียมด้วย การศัลยกรรมตัดกระดูก จึงสามารถลดปัญหาเรื่องความ บกพร่อง ไม่เพียงพอของเนื้อเยื่ออ่อนบริเวณที่อยู่รอบข้าง ได้สมบรูณ์ วิธีการดังกล่าวนี้ รุกรานอวัยวะข้างเคียงน้อย และใช้ระยะเวลาน้อย จึงสามารถลดอันตรายที่จะเกิดได้ อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับการเสริมกระดูกรองรับฟัน แบบเดิม บทความนี้รวบรวมและเรียบเรียงข้อมูลเกี่ยวกับ วิธีการยืดกระดูก ได้แก่ การศึกษาที่เกี่ยวข้อง การริเริ่ม พัฒนา และการประยุกต์ใช้บริเวณกระดูกรองรับฟัน Alveolar distraction osteogenesis(DO) is a new modality to becoming the treatment of choice for the surgical correction of hypoplasias of the alveolar bone region. Its defined as the creation of neoformed bone and adjacent soft tissue after the gradual and controlled displacement of a bone fragment obtained by surgical osteotomy, thus it was completely eliminate to problem about deficient soft tissue surrounding matrix. This technique is less invasive and timeintensive and has a significantly decreased morbidity rate compared with traditional methods of alveolar bone augmentation.This article is to summarize the information on DO, thus contributing to its study, development, and application in alveolar bone region. | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การยึดกระดูก | en_US |
dc.subject | การเสริมกระดูกรองรับฟัน | en_US |
dc.subject | Distraction Osteogenesis | en_US |
dc.subject | Alveolar bone augmentation | en_US |
dc.title | การยืดกระดูกรองรับฟันทางเลือกใหม่ในการเสริมกระดูกรองรับฟัน | en_US |
dc.title.alternative | Alveolar Distraction Osteogenesis : A New Modality for The Alveolar Augmentation | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.