Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69583
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Chusak Wittayapak | - |
dc.contributor.advisor | Lect. Dr. Robert A. Farnan | - |
dc.contributor.author | Van Bawi Mang | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-15T03:03:45Z | - |
dc.date.available | 2020-08-15T03:03:45Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69583 | - |
dc.description.abstract | Chin State remains the second poorest state among 14 states and regions in Myanmar, with 70 percent of people living below the poverty line. It has inadequate infrastructures such as abysmal road connectivity, insufficient power and water supplies, and the slow progress of development in other sectors. The government perceives the clearance of large areas of forest under practices of traditional shifting cultivation has proven unsustainable and is causing environmental problems, deforestation, and soil erosion. As a result, several attempts have been made to address the issue by replacing the local governance system of land-based resources with a more top-down intervention. Currently, there are six proposed national parks for implementation in Chin State in pursuit of forest preservation and promotion of ecotourism, which aim to attract investors to the State. One of these, the Zinghmuhtlang National Park is expected to take over huge areas of customarily governed forest and villagers’ land. It thus poses a high risk for the local communities, including customary land tenure, livelihood, cultural history, territory, and identity. The residents of Chuncung village are opposing the proposed national park because they will be excluded from their land on which they have been living for many generations. The relationship between society and nature's role is crucial to examine in sustainable resources management and development. This research employed a qualitative method and opted for a political ecology approach to explore the commodification of nature and turning land into capital as well as a power relation in the conflict between state and local people. By applying the concept of territorialization, this research analysed the intention and its mechanism towards implementing the project regarding who can access to land and its resources. It also applied landscape approach to find out potential key frameworks towards a sustainable way of a win-win situation for both local community and government. The state territorialization has been seen to fail or derail because of a top-down, centralized approach. Hence, this research argues that land-based resource governance remains very crucial for Chin people living in rural villages, especially for their livelihood and identity. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Political Ecology of Landscape Management in the Proposed Zinghmuhtlang National Park, Chin State, Myanmar | en_US |
dc.title.alternative | นิเวศวิทยาการเมืองของการจัดการภูมิทัศน์ในอุทยานแห่งชาติ ซิงมูตลัง รัฐชิน ประเทศเมียนมาร์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | รัฐฉินเป็นรัฐที่ประสบปัญหาความยากจนมากเป็นอันดับ 2 ในบรรดารัฐทั้ง 14 รัฐและภูมิภาค ต่างๆ ในประเทศเมียนมาร์ และมีประชาชนที่อยู่ใต้เส้นแบ่งความยากจนถึงร้อยละ 70 นอกจากนี้ ยังมีความขาดแคลนด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การสร้างถนนเชื่อมพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ระบบไฟฟ้า การประปา และการพัฒนาส่วนอื่นๆ ที่มีความล่าช้าจากการที่รัฐบาลเล็งเห็นว่าการแผ้วถางป่าเป็นบริเวณกว้างโดยวิธีการทําไร่เลื่อนลอยแบบดั้งเดิมนั้นไม่มีความยั่งยืน ทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม การตัดไม้ทําลายป่า การพังทลายของดิน เป็นต้น รัฐบาลต้องการแก้ปัญหาดังกล่าว จึงนําเอาระบบการ บริหารการจัดการทรัพยากรธรราชาติต่างๆ บนที่ดินด้วยการออกมาตรการของรัฐด้วยแนวทางจากบนลงล่าง ซึ่งมีการดําเนินการในรูปแบบของเสนอให้ประกาศเขตอุทยานแห่งชาติ 6 แห่งขึ้นในรัฐฉิน เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยมีเป้าหมายหลักในการดึงดูดนัก ลงทุนเข้ามาในรัฐ ทว่าอุทยานแห่งชาติซิงมูตลัง กลับมีแนวโน้มที่จะล่วงล้ําพื้นที่ป่าที่ได้รับการบริหาร จัดการตามจารีตและที่ดินทํากินของชาวบ้าน อันส่งผลให้เกิดผลเสียเป็นอย่างมากต่อชุมชนท้องถิ่น รวมถึงระบบสิทธิที่ดินตามจารีตประเพณี การดํารงชีวิต ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เขตแดน และ เอกลักษณ์ ชาวบ้านของหมู่บ้านชุนซุง จึงออกมาต่อต้านการดําเนินงานของอุทยานแห่งชาติดังกล่าว เนื่องจากชาวบ้านจะถูกกีดกัดจากพื้นที่ที่อยู่อาศัยกันมาหลายชั่วอายุคน ดังนั้น การศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างสังคมและบทบาทของธรรมชาติจึงมีความสําคัญในการวิเคราะห์การจัดการและการพัฒนา ทรัพยากรอย่างยั่งยืน การศึกษาครั้งนี้ได้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลักและเลือกใช้แนวทางการ วิเคราะห์ทางนิเวศวิทยาการเมืองเพื่อศึกษากระบวนการทําธรรมชาติให้เป็นสินค้าและการเปลี่ยนที่ดิน เป็นทุน ตลอดจนความสัมพันธ์ของอํานาจในความขัดแย้งระหว่างรัฐและคนในพื้นที่ งานวิจัยชิ้นนี้ วิเคราะห์เจตนาและกลไกของแนวคิดการครอบครองพื้นที่ที่สัมพันธ์กับการดําเนินการในอุทยาน แห่งชาติดังกล่าวในแง่ของผู้ที่สามารถเข้าใช้ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง อนึ่ง ในงานวิจัยยังมีการใช้วิธีทางภูมิทัศน์เพื่อหากรอบแนวความคิดสาคัญอันนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน กระบวนการครอบครองพื้นที่ของรัฐนั้นส่อที่จะเกิดความล้มเหลวและเป็นการแก้ปัญหาไม่ตรงจุด ซึ่งสืบเนื่องมาจากวิธีที่มีการรวมศูนย์อำนาจไว้ที่ศูนย์กลางและใช้การบริหารจัดการแบบบนลงล่าง ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงสรุปผลการศึกษาได้ว่าการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินยังคงมีความสาคัญต่อชาวฉิ่นที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านชนบท โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิถีชีวิตและเอกลักษณ์ชาติพันธุ์ | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610435813 Van Bawi Mang.pdf | 2.58 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.