Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69751
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศาสตราจารย์ ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.วรนุช กิตสัมบันท์-
dc.contributor.authorณัฏฐวิตรา ฤกษ์รัตนประทีปen_US
dc.date.accessioned2020-09-01T03:02:47Z-
dc.date.available2020-09-01T03:02:47Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69751-
dc.description.abstractMajor depressive disorder (MDD) usually involves a focus on negative situations and one's own failures. This can cause people to perceive themselves, the world and the future in a negative way. More than 50% of MDD patients are readmitted to the hospital for treatment. Positive self-talk is one form of psychosocial therapy that can help to reduce the symptoms of depression in patients who are readmitted. The purpose of this two-group pre- test and post-test quasi-experimental research study was to examine the effect of a positive self-talk training program on symptoms of depression in people who have been readmitted for major depressive disorder. The purposively selected participants included 52 people with mild to moderate levels of depression, 26 in the control group and 26 in the experimental group. The experimental group received routine care in addition to the positive self-talk training program, while the control group received routine care only. Research instruments consisted of: 1) demographic data form, 2) 9-Item Thai Patient Health Questionnaire (Thai PHQ-9), 3) The Positive Self-talk Training Program that was modified from a Positive Self-talk Training Program by Boonmeun (2016) based on the concept of Nelson-Jones (1990). Data were analyzed using descriptive statistics, paired t-test and independent t-test. The results of the study revealed that: 1. Mean scores for symptoms of depression in the experimental group were significantly lower at the post-test than at the pre-test p<.05 2. Mean scores for symptoms of depression were significantly lower in the experimental group than in the control group p< 0.5 at the post test. The results of this study indicated that a positive self-talk training program can help to reduce symptoms of depression among patients readmitted with major depressive disorder. Therefore, it can used to care for readmitted MDD patients who are experiencing symptoms of depression in Suan Prung Psychiatric Hospital.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่ออาการซึมเศร้าในผู้ป่วย โรคซึมเศร้าที่กลับมารักษาซ้ำen_US
dc.title.alternativeEffect of the Positive Self-Talk Training Program on Depressive Symptoms Among ReadmittedPatients with Major Depressive Disorderen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคซึมเศร้ามักจะเกี่ยวข้องกับการรับรู้สถานการณ์ที่เป็นด้านลบ และความล้มเหลวของตนเอง โดยเกิดจากการรับรู้ตนเอง โลก และอนาคตในทางลบ มากกว่าร้อยละ 50 ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะกลับมา รักษาในโรงพยาบาล การพูดกับตัวเองทางบวกเป็นหนึ่งในการบําบัดทางจิตสังคม ที่สามารถช่วย ลดอาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่กลับมารักษาซ้ําได้ วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยแบบกึ่ง ทดลอง แบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเอง ทางบวกต่ออาการซึมเศร้า ในผู้ที่กลับมารักษาซ้ําด้วยโรคซึมเศร้า การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ เฉพาะเจาะจงจํานวน 52 คน ที่มีระดับคะแนนของอาการซึมเศร้าเล็กน้อยถึงระดับปานกลาง 26 คน เป็นกลุ่มควบคุม และ 26 คน เป็นกลุ่มทดลอง โดยกลุ่มทดลองจะได้รับการรักษาตามปกติและ โปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวก ในขณะที่กลุ่มควบคุมจะได้รับเพียงการรักษาตามปกติเท่านั้น เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า PHQ-9 ฉบับภาษาไทย 3) โปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวก ซึ่งคัดแปลงจากโปรแกรมการฝึกพูด กับตัวเองทางบวกของพรทิพา บุญหมื่น (2559) ที่พัฒนาตามแนวคิดของเนลสันโจนส์ (1990) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบค่าที ที่สัมพันธ์กันและที่เป็นอิสระต่อกัน ผลการศึกษาพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนอาการซึมเศร้าในกลุ่มทดลอง ในระยะหลังการทดลอง ต่ํากว่าระยะ ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนอาการซึมเศร้าในระยะหลังการทดลอง ในกลุ่มทดลองต่ํากว่ากลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า โปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกสามารถช่วยลดอาการซึมเศร้า ในผู้ป่วยที่กลับมารักษาด้วยโรคซึมเศร้า ดังนั้นจึงสามารถใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่กลับมา รักษาซ้ำ ที่มีอาการซึมเศร้า ในโรงพยาบาลสวนปรุงได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.