Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69823
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกสิณ รังสิกรรพุมen_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 52-65en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_2/05.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69823-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractการท่องเที่ยวมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมและในระดับท้องถิ่นของหลายๆ ประเทศรวมถึงประเทศ ไทย โดยในการศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์โลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวซึ่งถือเป็นศาสตร์ใหม่ศาสตร์หนึ่งที่ได้เริ่มมีการศึกษา มากขึ้นจากหลายๆ ภาคส่วน โดยเป็นการประยุกต์ใช้เครื่องมือต่างๆ ที่ช่วยในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ในภาคการผลิต และอุตสาหกรรมมาใช้ปรับปรุงและพัฒนาการเดินทางและการท่องเที่ยวในภาคบริการให้ดีขึ้น โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ ปัจจัยต่างๆที่ส่งผลกระทบกับความพอใจของกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวที่จังหวัดอุบลราชธานีรวมถึงสถานที่ต่างๆ โดยมีการเก็บข้อมูลจำนวน 202 ตัวอย่างและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยแบบผสม ซึ่งใช้ทั้งการวิเคราะห์แบบเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ จากน้ันจึงใช้ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์แบบสอบถามในการศึกษาเส้นทางเดินทางโดยการประยุกต์ใช้โมเดลการเดินทางของคนขายเพื่อเสนอแนะเส้น ทางในการท่องเที่ยวภายใต้สมมุติฐานช่วงเวลาจำกัดในจังหวัดอุบลราชธานีผลการวิเคราะห์ในงานวิจัยนี้สามารถนำไปขยายผลเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวต่อไป Tourism nowadays plays a key role in both macro and micro economics for many countries including Thailand. In this study, we particularly examine a new discipline gaining popular from multidisciplinarians called tourism logistics, which deals with applying techniques proved successful from industrial/production logistics to service/tourism sector. Initially, we investigate factors that impact satisfaction of tourists traveling to Ubonratchathani province including tourist locations by collecting 202 samples and analyzed using mixed methods research, which evaluates data based on both quantitative and qualitative aspects. Next, by using information related to preferred locations initially analyzed from the first part, we further analyze travel routings based on the mathematical model of travelling salesman problem (TSP) under limited time and provide suggestions for optimal routes in Ubonratchathani province. The outcome from this study can expectedly be used to enhance an effectiveness of tourism-logistic management in the future.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการวิจัยแบบผสมen_US
dc.subjectปัญหาการเดินทางของคนขายen_US
dc.subjectโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectจังหวัดอุบลราชธานีen_US
dc.subjectMixed methods researchen_US
dc.subjectTravelling salesman problem (TSP)en_US
dc.subjectTourism logisticsen_US
dc.subjectUbonratchathani provinceen_US
dc.titleการวิเคราะห์เส้นทางและปัจจัยที่ส่งผลต่อระบบโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดอุบลราชธานีen_US
dc.title.alternativeAn Examination for Routing and Factors Impacting Tourism Logistics in Ubonratchathani Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.