Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71041
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sangsom Prapayasatok | - |
dc.contributor.advisor | Anak Iamaroon | - |
dc.contributor.advisor | Pasuk Mahakkanukrauh | - |
dc.contributor.advisor | Sukon Prasitwattanaseree | - |
dc.contributor.advisor | Sakarat Na Lampang | - |
dc.contributor.advisor | Kriskrai Sitthiseripratip | - |
dc.contributor.author | Sumon Thitiorul | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-10-22T01:54:05Z | - |
dc.date.available | 2020-10-22T01:54:05Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71041 | - |
dc.description.abstract | The nose and mouth are parts of the face that enhance facial recognition and are, undoubtedly, important for facial approximation. Moreover, these features have been reported to show ethnic differences. Many prediction methods for the nose and mouth have been proposed. Their studies were mainly based on White subjects whereas Asian subjects used in their studies were limit. Most of previous studies focused on only some landmarks on the nose and mouth. The prediction variables used in the previous methods were, usually, based on craniometrics, angles, landmarks on the face such as the eye position or landmarks on the teeth. Unfortunately, teeth are vulnerable to lose from the socket in skeletal remains, and the position of the eyeball is still controversial. The main purposes of this study were to formulate prediction equations for the coordinates of landmarks on the nose and mouth. The prediction guidelines for the nose and mouth widths and soft tissue thickness at the midline of the face were also investigated in this study. The study protocol was based on 3-D images of the face and skull reconstructed from cone-beam computed tomography scans of 108 Thai subjects seated in and upright position. The coordinates of bone landmarks were used to formulate regression equations for coordinates of the landmarks on the nose and mouth. The infraorbital foramen and canine were used to formulate prediction guidelines for the nose and mouth widths. Horizontal and vertical distances between skull landmarks and the skin surface were used to assess the soft tissue thickness. The results showed that regression equations for coordinates of soft tissue landmarks of the nose and mouth can be applied with the mean differences of the predicted and actual values ranged between -0.6 mm and 2.1 mm for midline landmarks, and between -1.0 mm and 1.6 mm for bilateral landmarks. Nose and mouth widths can be predicted using the calculated ratios between the bone tissue width to the soft tissue width, or using the average distances between them. The extents of variability to the mean of the ratios or average distances were good (Coefficient of variation of less than 0.08). For soft tissue thickness, sex and BMI were mostly influence the thickness. The study showed that there were progressive nasal tip and lip thickness changes relative to age. Therefore, care should be taken when applying facial approximation in the base of the nose and lip regions. In conclusion, the results of this study should be beneficial for facial approximation of the nose and mouth in a Thai population. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Nose | en_US |
dc.subject | Mouth | en_US |
dc.subject | Tomography | en_US |
dc.title | Prediction of the nose and mouth using cone-beam computed tomography in Thai adults | en_US |
dc.title.alternative | การพยากรณ์ลักษณะของจมูกและปากโดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟีในคนไทยวัยผู้ใหญ่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | จมูกและปากเป็นส่วนที่มีบทบาทสำคัญซึ่งใช้ในการจดจำใบหน้ารวมไปถึงการจำลองใบหน้า จากกะโหลก ยิ่งกว่านั้นลักษณะของจมูกและปากยังมีความแตกต่างกันในต่างเชื้อชาติ การศึกษาเพื่อ สร้างวิธีทำนายลักษณะของจมูกและปากในอดีตมักเน้นไปที่จุดบางจุดของจมูกและปาก การศึกษาส่วน ใหญ่ทำในกลุ่มตัวอย่างคนขาวและใช้ตัวอย่างคนเอเชียจำนวนน้อย ส่วนตัวแปรที่ใช้ในการศึกษามักจะใช้ระยะที่วัดในกะโหลก มุม หรือจุดอ้างอิงบนใบหน้า เช่น ลูกตา หรือจุดอ้างอิงบนฟัน ซึ่งมีข้อด้อยคือ ฟันมีโอกาสหลุดหายในซากกะโหลก และตำแหน่งของลูกตาในเบ้าตายังคงเป็นที่ถกเถียงในปัจจุบัน วัตถุประสงค์หลักของการศึกษานี้ คือการสร้างสมการทำนายพิกัดของจุดอ้างอิงบนจมูกและปาก นอกจากนี้ยังสร้างสมการทำนายความกว้างของปากและความกว้างของจมูก รวมถึงการหาความหนาของใบหน้าในแนวกึ่งกลาง วิธีการศึกษา ทำบนภาพจำลองสามมิติของใบหน้าและกะโหลกที่สร้างจากภาพรังสีโคนบีม คอมพิวเตดโทโมกราฟี ของคนไทยจำนวน 108 คน โดยถ่ายภาพรังสีในท่าศีรษะตั้งพิกัดของจุดอ้างอิง บนกะโหลกนำมาใช้ในการสร้างสมการถดถอยเพื่อทำนายพิกัดของจุดอ้างอิงบนจมูกและปาก จุดอ้างอิงรูใต้เบ้าตาและฟันเขี้ยวถูกนำมาใช้ในการสร้างสมการทำนายความกว้างของจมูกและปาก ส่วนการหาความหนาของผิวหน้านั้นทำโดยใช้เส้นในแนวนอนและเส้นในแนวตั้งจากกะโหลกมายังผิวหน้า ผลการศึกษาพบว่าสมการถดถอยในการทํานายพิกัดของจุดอ้างอิงบนจมูกและปากสามารถใช้ ทํานายโดยมีค่าเฉลี่ยความต่างระหว่างพิกัดทำนายกับพิกัดจริงระหว่าง -0.6 ถึง 2.1 มิลลิเมตร ส าหรับ พิกัดในแนวกลาง และระหว่าง -1.0 ถึง 1.6 มิลลิเมตร สำหรับพิกัดด้านข้าง ความกว้างของจมูกและปากสามารถทำนายได้ทั้งจากค่าสัดส่วน หรือค่าระยะเฉลี่ยระหว่างจุดอ้างอิง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ของการแปรปรวนต่ำกว่า 0.08 ส่วนความหนาของผิวหน้าในแนวกึ่งกลางนั้นพบว่าได้รับอิทธิพลหลักจากเพศและค่าดัชนีมวลกาย นอกจากนี้พบว่าผิวหน้าบริเวณปลายจมูกและริมฝีปากมีการเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์กับอายุ ดังนั้นการจำลองใบหน้าในจมูกและปากควรทำด้วยความรอบคอบ กล่าวโดยสรุป ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการทำนายลักษณะของจมูกและปากสำหรับการจำลองใบหน้าจากกะโหลกในคนไทย | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
570751010 สุมน ธิติโอฬาร.pdf | 6.23 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.