Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพัชราวลัย ศรียะศักดิ์en_US
dc.contributor.authorสุพันธ์ณี สุวรรณภักดีen_US
dc.contributor.authorพรพิมล พิมลรัตน์en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:03Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:03Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 36, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 387-396en_US
dc.identifier.issn0857-0850en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/243190/168885en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71117-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 9en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการรวบรวมความรู้และกลยุทธ์ในการรับมือกับโรคปลานิลของเกษตรกร โดยทำการศึกษาในเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลในกระชังในแม่น้ำสงคราม เก็บข้อมูลจากเกษตรกรจำนวน 148 ราย โดยใช้แบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ประสบปัญหาปลาเป็นโรคในช่วงที่ผ่านมา โรคปลาจะเกิดขึ้นบ่อยในช่วงเดือนเมษายนถึงมิถุนายน ซึ่งเป็นช่วงรอยต่อระหว่างฤดูร้อนและฤดูฝน เกษตรกรคิดว่าสาเหตุหลักที่ทำให้ปลาเกิดโรคเกิดจากคุณภาพน้ำ และ สภาพอากาศที่แปรปรวน การเกิดโรคที่พบบ่อย ได้แก่ ปรสิตภายนอก และ การติดเชื้อแบคทีเรีย ลักษณะอาการของโรคที่เกษตรกรพบบ่อยคือ ตาโปน วิธีการจัดการโรคปลาของเกษตรกร ได้แก่ การย้ายปลาที่เป็นโรคออกจากกระชัง การผสมวิตามินในอาหาร และการใช้ยาปฏิชีวนะ สำหรับวิธีการป้องกันปลาเป็นโรค เกษตรกรใช้วิธีหมั่นสังเกตปลาในกระชัง หมั่นทำความสะอาดกระชัง ใช้วิตามิน และหยุดเลี้ยงปลาในช่วงมีการระบาดของโรค นอกจากนี้ยังพบว่าเกษตรกรไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของการติดเชื้อ ดังนั้นเพื่อให้สามารถรับมือกับปัญหาโรคปลาได้ดีขึ้น เกษตรกรจึงควรส่งปลาเพื่อตรวจวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรคที่แท้จริงเพื่อจะได้ทำการรักษาอย่างถูกวิธีต่อไป This study summarizes the current knowledge of fish farmers regarding their strategies to cope with Tilapia diseases. The study focuses on the river-based cage culture in Songkhram River. The data were collected from 148 fish farmers using structured questionnaires. The study found that most fish farmers struggled with fish disease problems in the past. The problems typically aggravated during April and June, which were the transitioning period from summer to wet season. They believed that the diseases were mainly caused by variation in water quality and weather. The common diseases were ectoparasite infestation and bacterial infection. The common clinical sign that these farmers observed was exophthalmia. With their limited knowledge of disease management, these farmers decided to remove infected fish from the cages, added vitamins in the feed, and applied antibiotics. The preventive practices included direct observation, a regularly cage cleaning, an application of vitamins, and stop fish activities during the disease outbreak period. However, they did not know the actual causes of diseases. In order to better cope with the problems, it is recommended that fish farmers should send the infected fish to the relevant agencies to diagnose the true causes of the diseases so that they can suggest appropriate treatments.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรคปลาen_US
dc.subjectการเลี้ยงปลาในกระชังen_US
dc.subjectการจัดการของเกษตรกรen_US
dc.subjectFish diseaseen_US
dc.subjectRiver-based cage cultureen_US
dc.subjectFish farmer managementen_US
dc.titleความรู้และกลยุทธ์ของเกษตรกรในการจัดการโรคปลานิล ที่เลี้ยงในกระชังในแม่น้ำสงครามen_US
dc.title.alternativeFarmers’ Knowledge and Strategies for Tilapia Disease Management in Cage Culture in Songkhram Riveren_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.