Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตติศักดิ์ เรือนมาen_US
dc.contributor.authorพิชญา บุญประสมen_US
dc.contributor.authorดนัย บุณยเกียรติen_US
dc.date.accessioned2021-02-05T02:29:37Z-
dc.date.available2021-02-05T02:29:37Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 1 (ก.พ. 2552), 85-93en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/245843/168063en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72012-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของการลดอุณหภูมิโดยวิธีผ่านอากาศเย็นต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลสตรอเบอรี่พันธุ์พระราชทาน 72 ได้ถูกทำการศึกษา โดยการลดอุณหภูมิผลสตรอเบอรีให้เหลือ 4 องศาเซลเซียส แล้วนำไปเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 0, 5, 10 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิห้อง (25±1 องศาเซลเซียส) พร้อมกับคำนวนหาค่า cooling parameters จากข้อมูลของการทดลอง พบว่า lag factor มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.9396 ค่า half cooling time, seven-eighths cooling time และค่า cooling coefficients มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.83, 35.33 นาที และ 0.07 ต่อนาที ตามลำดับ และเมื่อเก็บรักษานาน 2 วัน พบว่า ผลสตรอเบอรีที่ผ่านการลดอุณหภูมิมีความแน่นเนื้อ และปริมาณวิตามินซีมากกว่า ผลสตรอเบอรีที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิ แต่มีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้น้อยกว่า และการลดอุณหภูมิไม่มีผลต่ออายุการเก็บรักษา หารสูญเสียน้ำหนัก ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ และปริมาณแอนโธไซยานิน ผลสตรอเบอรีที่เก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้องมีการสูญเสียน้ำหนักมากที่สุด มีปริมาณแอนโธไซยานินสูงที่สุด มีความแน่นเนื้อน้อยที่สุด ผลสตรอเบอรีซึ่งเก็บรักษาที่อุฯหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มีอายุการเก็บรักษานานที่สุด คือ 14 วันและมีปริมาณวิตามินซีมากที่สุดอุณหภูมิที่ใช้เก็บรักษาไม่มีผลต่อปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้และปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ อัตราการหายใจของผลสตรอเบอรีที่ผ่านกระบวนการลดอุณหภูมิ และไม่ผ่านกระบวนการลดอุณหภูมิ มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ Effects of forced-air cooling on postharvest qualities of strawberry fruits cv. No.72 was studied by decreasing temperature of strawberry fruits to 4 C and stored at O, 5, 10 C and ambient temperature (25+1 C) together with calculated cooling parameters. The results showed that strawberries had average lag factor equal to 0.9396 half cooling time, seven-eighths cooling time and cooling coefficients 11.83, 35.33 minutes and 0.07 per minute, respectively. After 2 days of storage, it was found that the frmness and vitamin C content of precooled strawberry fruits were higher but lower in total soluble solids than those of non precooled fruits. Precooling had no effect on storage life, weight loss, titratable acidity and anthocyanin content. Strawberry fruits stored at ambient temperature were indicated the highest weight loss and anthocyanin content but the lowest firmness. Strawberry fruits stored at o 'C had the longest storage life which was 14 days and had the highest vitamin C content. Storage temperatures had no effect on total soluble solids and titratable acidity. Respiration rate of precooled strawberry fruits and non precooled were not significant different.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสตรอเบอรีen_US
dc.subjectการลดอุณหภูมิเฉียบพลันen_US
dc.subjectการลดอุณหภูมิโดยวิธีผ่านอากาศเย็นen_US
dc.subjectStrawberryen_US
dc.subjectprecoolingen_US
dc.subjectforced-air coolingen_US
dc.titleผลของการลดอุณหภูมิโดยวิธีผ่านอากาศเย็นต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลสตรอเบอรีพันธุ์พระราชทาน 72en_US
dc.title.alternativeEffects of Forced-air Cooling on Postharvest Qualities of Strawberry Fruits cv. No. 72en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.