Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศุภชัย นาทะพันธ์en_US
dc.contributor.authorอภิชิต เทอดโยธินen_US
dc.date.accessioned2021-04-23T08:50:38Z-
dc.date.available2021-04-23T08:50:38Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 38-46en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttps://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_3/04.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72043-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractโรงงานควบคุมต้องประยุกต์ระบบการจัดการพลังงาน (EnMS) ของประเทศไทยตามที่กฎหมายกำหนดเพื่อการ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานแต่เป็นการยากที่ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานจะเข้าใจวิธีการทำงานได้ครบทุกประเด็นใน ข้อกำหนดของกฎหมาย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการตรวจประเมินช่องว่างของ EnMS แนวทางที่ นำเสนอคือการวิเคราะห์ความต้องการของกฎกระทรวงเปรียบเทียบกับแปดขั้นตอนของระบบการจัดการพลังงาน เกณฑ์ ควบคุมจากประกาศกระทรวง และความสัมพันธ์ด้วยแผนผังเมทริกซ์แบบรูปตัวอักษร T เพื่อวิเคราะห์ช่องว่างจากความไม่สอดคล้องระหว่างข้อกำหนดและวิธีการทำงาน ผลการวิเคราะห์ EnMS พบว่า แผนผังเมทริกซ์ช่วยระบุและจำแนกวิธีการ ควบคุมให้กับเกณฑ์ควบคุมเป็นข้อกำหนดย่อยจุดควบคุม และหลักฐาน รวมถึงกำหนดแนวทางการปรับปรุง EnMS ของอุตสาหกรรมไทยจากการตรวจพบช่องว่างเกิดขึ้นจากการขาดวิธีการมารองรับการนำ ไปปฏิบัติระหว่างปัจจัยนำ เข้าและ ผลลัพธ์ที่ต้องนำเสนอ ดังนั้น EnMS ต้องได้รับการพัฒนาวิธีการในการกำหนดเป้าหมายให้กับมาตรการ และวิธีการ วิเคราะห์การปฏิบัติการตามแผน The designated factory have to apply the Thailand energy management system (EnMS) as required by the laws to promote energy conservation, but it is difficult for the personnel responsible for energy to understand all aspects in work methods of the legal requirements. The objective of this research is to develop the gap assessment process of the EnMS. The proposed approach is to analyze the requirements of ministerial regulations in comparison with the eight steps of the EnMS, the control criteria from the ministry of energy statement, and the relationship with T-type matrix diagram to analyze the gap from the inconsistency between the requirements and work methods. The results of the EnMS analysis showed that the matrix diagram could identify and classify the control methods of the regulated criteria into sub-requirement, control point and evidence. In addition, it determined the approaches for improvement of Thai industry’s EnMS based on the gap detection caused by the lack of methods to support the implementation between the inputs and outcomes. Therefore, the EnMS should be developed the methods for setting targets in measures and analysis of the action plans.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรงงานควบคุมen_US
dc.subjectการจัดการพลังงานen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ช่องว่างen_US
dc.subjectแผนผังเมทริกซ์en_US
dc.subjectDesignated Factoryen_US
dc.subjectEnergy Management Systemen_US
dc.subjectGap Analysisen_US
dc.subjectMatrix diagramen_US
dc.titleการวิเคราะห์ช่องว่างของระบบการจัดการพลังงานในอุตสาหกรรมไทยen_US
dc.title.alternativeGap Analysis of Energy Management System in Thailand Industryen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.