Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73560
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล | - |
dc.contributor.advisor | รุจ ศิริสัญลักษณ์ | - |
dc.contributor.advisor | ประทานทิพย์ กระมล | - |
dc.contributor.author | ยุทธนา วงค์สีดา | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-07T11:04:48Z | - |
dc.date.available | 2022-07-07T11:04:48Z | - |
dc.date.issued | 2020-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73560 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research is to 1) study the pattern of rubber tapping labor management of farmers in rubber plantation in Doi Luang District. Chiang Rai Province 2) Analyze the sustainability of the rubber tapping labor management model in rubber plantation. In Doi Luang district Chiang Rai By using a semi-structured interview with closed-ended and open-ended. Use a small group discussion. Interviews and Descriptive Statistics To analyze fundamental data Rubber tapping labor management model information And sustainability in rubber plantation Interpretation criteria of Likert Scale were used together with reference statistic T-Test (Independent- Samples T-Test) in data analysis to compare the sustainability differences of two rubber tapping labor management models. Labor management form for tapping rubber without hiring And labor management model, rubber tapping with hiring workers. The study found that Farmers who own rubber plantations have a labor management model for tapping rubber. The most entirely self-administered Followed by a model where farmers all employ and share the benefits. A pattern that farmers operate in their own areas and employ other areas. And the model of labor management for rubber tapping that is partially self-employed and hiring additional labor when harvesting It was 77.6%, 16.8, 3.7 and 1.9% respectively. Farmers who own rubber growers classified by management model of rubber tapping with hired labor and non-hired form found that farmers with rubber tapping labor management both. The two models had the highest levels of average physical, economic and social sustainability. The difference in the sustainability of rubber plantation among farmers with unemployed rubber tapping labor and the employed rubber tapping labor management model was found to be no different in physical, economic and Society with statistical significance at level 0.05. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | รูปแบบการจัดการแรงงานกรีดยางพาราที่มีผลต่อความยั่งยืนในการทำสวนยางพารา ในอำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | Labor Management Patterns in Rubber Tapping Affecting Rubber Plantation Sustainability in Doi Luang District, Chiang Rai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | สวนยาง -- ดอยหลวง (เชียงราย) | - |
thailis.controlvocab.thash | ยางพารา | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- ดอยหลวง (เชียงราย) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการจัดการแรงงานกรีดยางพาราของ เกษตรกรในการทำสวนยางพาราในอำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย 2) วิเคราะห์ความยั่งยืนของ รูปแบบการจัดการแรงงานกรีดยางพาราในการทำสวนยางพารา ในอำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างปลายปิดและปลายเปิด ใช้การจัดสนทนากลุ่มย่อย การสัมภาษณ์ และสถิติเชิงพรรณนา เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลรูปแบบการจัดการแรงงานกรีด ยางพารา และความยั่งยืนในการทำสวนยางพารา ใช้เกณฑ์การแปลความหมายของ Likert Scale ประกอบกับการใช้สถิติอ้างอิง T-Test (Independent-Samples T-Test) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ เปรียบเทียบความแตกต่างความยั่งยืนของรูปแบบการจัดการแรงงานกรีดยางพารา 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการจัดการแรงงานกรีดยางพาราที่ไม่มีการจ้างแรงงาน และรูปแบบการจัดการแรงงานกรีด ยางพาราที่มีการจ้างแรงงาน ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรเจ้าของสวนยางพารามีรูปแบบการจัดการแรงงานกรีดยางพารา ที่ดำเนินการเองทั้งหมดมากที่สุด รองลงมาคือรูปแบบที่เกษตรกรจ้างทั้งหมดแล้วแบ่งผลประโยชน์ รูปแบบที่เกษตรกรดำเนินการเองในพื้นที่ตนเองและรับจ้างพื้นที่อื่น และรูปแบบการจัดการแรงงาน กรีดยางพาราที่ดำเนินการเองบางส่วนและจ้างแรงงานเพิ่มตอนเก็บผลผลิต คิดเป็นร้อยละ 77.6, 16.8, 3.7 และ 1.9 ตามลำดับ เกษตรกรเจ้าของสวนยางพาราจำแนกตามรูปแบบการจัดการแรงงานกรีด ยางพาราที่มีการจ้างแรงงานและรูปแบบที่ไม่มีการจ้างแรงงาน พบว่า เกษตรกรที่มีการจัดการแรงงาน กรีดยางพาราทั้ง 2 รูปแบบมีความยั่งยืนเฉลี่ยในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคมในระดับมากที่สุด ความแตกต่างของความยั่งยืนในการทำสวนยางพาราของเกษตรกรที่มีการจัดการแรงงานกรีด ยางพาราที่ไม่มีการจ้างแรงงานและรูปแบบการจัดการแรงงานกรีดยางพาราที่มีการจ้างแรงงาน พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600832037 ยุทธนา วงค์สีดา.pdf | 2.36 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.