Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิสระ บุญญะฤทธิ์-
dc.contributor.authorนครินทร์ อินทร์กันen_US
dc.date.accessioned2022-07-09T09:48:32Z-
dc.date.available2022-07-09T09:48:32Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73592-
dc.description.abstractThe purposes of this research were (1) to investigate the relationships among proactive personality, work engagement, and change-oriented citizenship behavior of teachers in government schools in Lamphun province, and (2) to examine the mediating role of work engagement in the relationship between proactive personality and change-oriented citizenship behavior. The sample in the study was 200 teachers in 91 government schools located in Lamphun province. The research instrument consisted of (1) the Proactive Personality Scale, (2) the Work Engagement Scale, (3) the Change-Oriented Citizenship Behavior Scale, an (4) respondent's demographic data. Data were analyzed by using descriptive statistics, Pearson's correlation coefficient, regression analysis applying for the causal steps of Baron and Kenny (1986), and Sobel's test for significant analysis of indirect effect The results of the study were as follows: reserved 1. Proactive personality could be significantly predicted change-oriented citizenship behavior of teachers in government schools in Lamphun province (b = .636, p < 0.01), explaining variance of change-oriented citizenship behavior at 38.7 percent. 2. Proactive personality could be significantly predicted work engagement of teachers in government schools in Lamphun province (b = .588, p < 0.01), explaining variance of work engagement at 38 percent. 3. Work engagement could be significantly predicted change-oriented citizenship behavior of teachers in government schools in Lamphun province (b = .266, P < 0.01) Proactive personality and work engagement could explained the variance of change-oriented citizenship behavior at 42.6 percent. 4. The relationship between proactive personality and change-oriented citizenship behavior of teachers in government schools in Lamphun province was partially mediated by work engagement with the statistical significance of .01 (Z = 3.461) with the indirect effect of .156en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพเชิงรุกกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลงของครูโรงเรียนรัฐบาลในจังหวัด ลำพูน: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความผูกพันต่องานen_US
dc.title.alternativeRelationship between proactive personality and change-oriented citizenship behavior of teachers in government schools, Lamphun Province: The Mediating role of work engagementen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashครู -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashครู -- พฤติกรรม-
thailis.controlvocab.thashครู -- ความพอใจในการทำงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพเชิงรุก ความผูกพันต่องาน และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลงของครูโรงเรียนรัฐบาในจังหวัดลำพูน (2) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความผูกพันต่องานในความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพเชิงรุกและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลงของครูโรงเรียรัฐบาลในจังหวัดลำพูน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดลำพูน รวม 91 โรงเรียน จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลง (2) แบบวัดบุคลิกภาพเชิงรุก (3) แบบวัดความผูกพันต่องาน (4) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอย และใช้วิธี Causal Steps ของ Baron and Kenny (1986) ในการวิเคราะห์ตัวแปรสื่อและการคำนวณค่าสถิติของโซเบล (Sobel's test) เพื่อทดสอบนัยสำคัญของอิทธิพลทางอ้อม ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลิกภาพเชิงรุกสามารถทำนายพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลงของครูโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดลำพูน ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิที่ระดับ .01 โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤดิกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลงได้ร้อยละ 38.7 และมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยเท่ากับ .636 2. บุคลิกภาพเชิงรุกสามารถทำนายความผูกพันต่องานของครูโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดลำพูน ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของความผูกพันต่องานได้ร้อยละ 38.0 และมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยเท่ากับ .588 3. ความผูกพันต่องานสามารถทำนายพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลงของครูโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดลำพูน ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยสามารถร่วมกับบุคลิกภาพเชิงรุกทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลง ได้ร้อยละ 42.6 และมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยของความผูกพันต่องานเท่ากับ .266 4. ความผูกพันต่องานมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อบางส่วนในความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพเชิงรุกกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีแบบมุ่งเปลี่ยนแปลง (Z = 3.461, p < .01) และมีอิทธิพลทางอ้อมเท่ากับ .156en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610132034 นครินทร์ อินทร์กัน.pdf990.53 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.