Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73756
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปฐมาวดี จงรักษ์ | - |
dc.contributor.author | รัตนาภรณ์ สิทธิกรสกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-04T09:55:40Z | - |
dc.date.available | 2022-08-04T09:55:40Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73756 | - |
dc.description.abstract | This research aims to 1) study the current functional work of the Lamphun Rehabilitation Fund, 2) examine the factors and challenges that affect of the fund, and 3) explore the pathway to efficiently develop the integrated management of the fund. This is a qualitative study using a semi- structured interview to collect data. The 17 informants including the administrators of the Lamphun Provincial Administrative Organization, the committees of the Lampbun Rehabilitation Fund, the subcommittees working for the Lamphun Rehabilitation Fund, the staff of the Local Administrative Organization, and the disabled people in Lamphun were interviewed. The results reveal that (1) the management of the Rehabilitation Fund was integrated using horizontal management. Also, (2) the factor that positively aflects of the fund is the leaders' role to initiate the collaboration. On the other hand, the challenges that aflect are conditional collaboration and the official structured collaboration. Besides, the pathway to efficiently develop the integrated management is to develop the perception of all unit related to the fund, publicize the objectives of the fund to the related units in Lamphun province, and promote the capacity of the fund that able to improve the quality's life of the target group. Moreover, the related unit in Lamphun should work together and the regulation of the Rehabilitation Fund specifically for the financial request of the Lamphun Rehabilitation Fund (B.E. 2563) should be revised for further efficiency. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การมุ่งสู่การบริหารแบบบูรณาการของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Working towards the integrated Management of the Lamphun Rehabilitation Fund | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | ความร่วมมือระหว่างองค์การ -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารองค์การ -- ลำพูน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะการทำงานของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดลำพูนในปัจุบัน 2) ศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดการสนับสนุน และปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการทำงานในลักษณะการบูรณาการของกองทุนฯ 3) ทราบแนวทางในการพัฒนาและบริหารงานแบบบูรณาการของกองทุนฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ การสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้างจากผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูนจำนวน 1 คน คณะกรรมการบริหารกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดลำพูน จำนวน 2 คน คณะอนุกรรมการเพื่อดำเนินงานกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดลำพูน จำนวน 2 คน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำพูน จำนวน 6 คน และผู้พิการในจังหวัดลำพูน จำนวน 6 คน รวมผู้ให้ข้อมูลจำนวน 17 คน โดยผลการศึกษาพบว่า (1) กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดลำพูน มีการบริหารแบบบูรณาการโดยการบริหารแบบแนวราบ (Horizontal Management) (2) ปัจจัยสนับสนุนต่อการทำงานในลักษณะการบูรณาการของกองทุนฯ คือ บทบาทผู้นำการสร้างความร่วมมือ ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานในลักษณะการบูรณาการ ของกองทุนฯ คือ เงื่อนไขก่อเกิดความร่วมมือและการจัดโครงสร้างความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ (3) แนวทางการบริหารกองทุนฯ ให้มีการบูรณาการในการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการสร้างการรับรู้ให้ทุกภาคส่วนและประชาสัมพันธ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง'ได้ทราบถึงการวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดลำพูน รวมถึงอำนาจหน้าที่ของกองทุนฯ เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และร่วมกันบูรณาการการทำงานร่วมกันในพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม ในทุกพื้นที่ของจังหวัดลำพูน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงแก้ไขระเบียบกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดลำพูน ว่าด้วยการขอรับการสนับสนุนงบประมาณของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดลำพูน พ.ศ. 2563 ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621932022 รัตนาภรณ์ สิทธิกรสกุล.pdf | 4.57 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.