Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74034
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ | - |
dc.contributor.author | รัตนาภรณ์ จอมมูล | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-29T16:19:15Z | - |
dc.date.available | 2022-08-29T16:19:15Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74034 | - |
dc.description.abstract | This paper discusses problems of widespread of fake news or information (collectively referred to as "'fake news) to visualize their different forms and conscquences. The author take into account use of political fake news to influence elections in the United States by a group established in Russia and by Democrat supporters in senate clection in State of Alabama, as well as the emergence of political fake news in Thailand. Although there is no indication as to whether effects of fake news are indeed drastic to the point where it successfully influences an clection result, it is somewhat evident that they influence public perception and opinion. Awareness of widespread effeets of fake news on social media platforms presumably began during 2016 presidential election of the United States. It is found that fake news has been widely used on social media platforms such as Facebook, Twitter, as well as Instagram, in an attempt to influence political election. Networks of fake news are established with propagandas, which are promoted later by fake account users or bots created on platforms. Fake news comes in many forms. Problems of fake news are deemed to threaten democracy and human rights, as they affect rights to be informed of news and freedom of expression. Both of public and private sectors are responsible for guarantee of these rights and freedom in form of technical and legal measures. The government should choose appropriate system to regulate and control fake news, or mechanism to investigate news source and screen news materials for the public. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายในการกำกับควบคุมข่าวปลอมทางการเมืองบนโลกไซเบอร์ | en_US |
dc.title.alternative | The Legal measure to regulate and control political fake news on cyberspace | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ข่าวปลอม | - |
thailis.controlvocab.thash | ข่าว -- แง่การเมือง | - |
thailis.controlvocab.thash | การสื่อสาร -- แง่การเมือง | - |
thailis.controlvocab.thash | การเผยแพร่ข่าวสาร | - |
thailis.controlvocab.thash | สื่อมวลชนกับการเผยแพร่ข่าวสาร | - |
thailis.controlvocab.thash | อินเทอร์เน็ตในการเผยแพร่ข่าวสาร | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | บทความชิ้นนี้จะพูดถึงปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการแพร่กระจายของข่าวปลอมหรือข้อมูลปลอม (เรียกรวมๆ ว่า Fake news) เพื่อให้เห็นผลกระทบและรูปแบบที่หลากหลายของปัญหานี้ ผู้เขียนจะ พิจารณากรณีการใช้ข่าวปลอมทางการเมือง ที่สร้างผลกระทบต่อการเลือกตั้งที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งโดยกลุ่มที่มีการจัดตั้งจากรัสเชียและโดยผู้สนับสนุนพรรดเดโมแครตในการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกที่ รัฐอลาบามา รวมทั้งการเกิดข่าวปลอมทางการเมืองในประเทศไทยอีกด้วย แม้ว่าในปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลระบุว่าข่าวปลอมส่งผลกระทบมากขนาดเปลี่ยนแปลงผลการ เลือกตั้งหรือไม่ แต่ผลกระทบด้านลบอื่นๆ ของข่าวปลอมต่อการรับรู้และแสดงความคิดเห็นของคน ในสังคมนั้นค่อนข้างชัดเจน การตระหนักถึงผลกระทบของข่าวปลอมที่เผยแพร่บนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ในวงกว้าง น่าจะเริ่มจากการเลือกตั้งประธานาธิบดีในปี 2016 ที่ผ่านมา มีการพบการใช้ข่าว ปลอมผ่านทางเครือข่ายสังคมทั้งเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ รวมไปถึงอินสตาแกรม เพื่อบิดเบือนผลการ เลือกตั้ง มีการสร้างเครือข่ายข่าวปลอมที่ประกอบด้วยโฆษณาชวนเชื่อต่าง ๆ จากนั้นมีการใช้ผู้ใช้ ปลอมที่เป็นบอท ในการทำให้ข่าวดังกล่าวแพร่กระจายบนเครือข่ายสังคม ข่าวปลอมดังกล่าวมีหลายรูปแบบ ปัญหา "ข่าวปลอม" หรือ (Fake news) ซึ่งถือเป็นภัยคุกคามต่อระบอบประชาธิปไตยและสิทธิ มนุษยชนในด้านต่าง ๆ เพราะได้สร้างผลกระทบต่อสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและเสรีภาพในการ แสดงออกของประชาชน โดยภาครัฐและเอกชนมีหน้าที่ในการประกันสิทธิเสรีภาพดังกล่าว ทั้งใน รูปแบบมาตรการทางเทคนิคและทางกฎหมาย ทั้งนี้ รัฐควรเลือกระบบการกำกับควาบคุมข่าวปลอม หรือกลไกที่เหมาะสม ในการตรวจสอบแหล่งที่มาและกรองเนื้อหาข่าวที่แม่นยำให้แก่ประชาชน | en_US |
Appears in Collections: | LAW: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
602032007 รัตนาภรณ์ จอมมูล.pdf | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.