Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74179
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr. Sarana Sommano | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Prasert Hangmoungjai | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Chantalak Tiyayon | - |
dc.contributor.author | Malaiporn Wongkaew | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-03T10:52:17Z | - |
dc.date.available | 2022-10-03T10:52:17Z | - |
dc.date.issued | 2021-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74179 | - |
dc.description.abstract | Mango is a well-known tropical fruit consumed in both fresh and processed forms. Peel of mango, a major byproduct from the processing has been recognised as a potential source of food-grade mango peel pectin (MPP). This thesis investigated peels of four Thai mango varieties, viz., 'Mahachanok', 'Namdokmai', 'Chok anan' and 'Kaew' were for MPP production. The influence of fruit physical characteristics and phytochemicals of peels on MPP qualities was conducted. Thereafter, the MPP was hydrolysed and produced mango peel pectic oligosaccharide (MPOS) as prebiotic for lactic acid bacteria. Finally, the economic feasibility of MPP and MPOS production in the industrial scale were compared in order to give the guideline to food processors and to comply with the bio-circular green economic (BCG) model. res e rve The first study, mangoes of 'Mahachanok' and 'Namdokmai' were distinctive to 'Chok anan' and 'Kaew' on the basis of their physiology, and phytochemical characteristics. Only pectin extracted from mango var. 'Chok anan' was categorised as low methoxyl type (~ 4% of methoxyl content). The multivariate correlation between the fruit and peel properties and the degree of esterification (DE) value illustrated that the biomass volume such as yield of the seed and the total mass had negatively influenced the DE values, while they were positively correlated with the contents of crude fibre and xylose of the peels. In the hydrolysis, the optimal treatment for MPOS valorisation was 24 h with 0.3% (v/v) pectinase. This condition provided small oligosaccharides with the molecular weight of 643 dalton that demonstrated the highest score of prebiotic activity for both of Bifidobacterium animalis TISTR 2195 (7.76) and Lactobacillus reuteri DSM 1 7938 (6.87). The major sugar compositions of the oligosaccharide using HPLC analysis were fructose and glucose. For the simulation of prebiotic fermentation, B. animalis TISTR 2195 showed higher proliferation and short chain fatty acid production in 4% (w/v) of MPOS supplemented than that of L. reuteri DSM 1 7938. I then summarised that the MPOS is a novel pectic oligosaccharide resource. Finally, the profitability of MPP and MPOS processing was assessed based upon the net present value (NPV), internal rate of return (IRR) payback period (PBP) and the sensitivity analysis. MPOS was found to be the great alternative for mango peel valorisation with higher values of the NPV ($255.71 millions), IRR (57.42%) and lower PBP (1.74 years) than MPP. Sensitivity analysis described that plant capacity had the most influence on the accumulated capital. While the operation day showed the least effect and longer time provided the decrease of NPV. This valuable information also confirmed that the additional MPOS processing were cost-effective with good return on the investment capital. The outcome from this research would provide a profitable opportunity for the sustainable growth of the country through and also the baseline guidance of value adding ingredients from the biomass of Thai fruit industry. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Prebiotic Pectin from Mango Peel and Economic Feasibility Assessment | en_US |
dc.title.alternative | พรีไบโอติกเพกทินจากเปลือกมะม่วงและการประเมินความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Mango -- Processing | - |
thailis.controlvocab.thash | Pectin | - |
thailis.controlvocab.thash | Prebiotics | - |
thailis.controlvocab.thash | Biotechnology | - |
thailis.controlvocab.thash | Economics | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | มะม่วงเป็นผลไม้เมืองร้อนที่นิยมบริโภคทั้งในรูปแบบสดและผลิตภัณฑ์แปรรูป โดยจาก กระบวนการแปรรูปทำให้เกิดผลพลอยได้หลัก คือ เปลือกมะม่วง ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นแหล่ง วัตถุดิบที่มีศักยภาพในการผลิตเพกทินเกรดอาหาร วิทยานิพนธ์นี้ได้ศึกษาการผลิตเพกทินจากเปลือก มะม่วง 4 สายพันธุ์ ได้แก่ 'มหาชนก" น้ำดอกไม้' โชคอนันต์' และ 'แก้ว' รวมทั้งศึกษาอิทธิพลของ ลักษณะทางกายภาพของผลและองค์ประกอบพฤกษเคมีของเปลือกต่อคุณภาพของเพกทิน จากนั้น หาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับย่อยเพกดินสำหรับการผลิตเพกทิก โอสิโกแซกตาไรด์ เพื่อเป็นแหล่งพรีไบ โอติกสำหรับแบคทีเรียกรดแลคติค และเปรียบเทียบความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของการผลิตเพ กทินและเพกทิโอลิโกแซกคาไรค์จากเปลือกมะม่วงในระดับอุตสาหกรรม เพื่อเป็นแนวทางแก่ ผู้ประกอบการ และสอดรับกับนโยบายแบบจำลองเศรษฐกิจหมุนเวียนชีวภาพอีกทางหนึ่งด้วย ในการศึกษาขั้นต้น พบว่า มะม่วงสายพันธุ์ 'มหาชนก'และ น้ำดอกไม้ มีลักษณะที่จำเพาะซึ่งมี ความแตกต่างจากสายพันธุ์ 'โชคอนันต์' และ 'แก้ว' ตามหลักสรีรวิทยาของผลและองค์ประกอบ ทางพฤกษเคมีของเปลือก โดยพบว่า เฉพาะเพกทินที่สกัดได้จากเปลือกมะม่วงสายพันธุ์ 'โชคอนันต์' เท่านั้น ที่จัดอยู่ในประเภทของเพกทินที่มีเมทอกซิลต่ำ (ประมาณร้อยละ 4 ของปริมาณเมทอกซิล) จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบสหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างองค์ประกอบของผลกับเปลือกและระดับ ของค่าเอสเทอริฟิเคชัน แสดงให้เห็นว่า ปริมาณสารชีวมวล ได้แก่ เมล็ดและมวลรวม มีอิทธิพลในทางลบ ต่อค่าเอสเทอริฟิเคชัน แต่ปริมาณของเส้นใขและน้ำตาลไซโลสในเปลือกมีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับค่า ตั้งกล่าว ในการศึกษาการย่อยเพทินสำหรับผลิตเพกทิกโอสิโกแซกคาไรค์ พบว่า การย่อยเป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง ตัวยเอนไซม์เพกทิเนสดวามเข้มข้นร้อยละ 0.3 โดยปริมาตร เป็นสภาวะที่เหมาะสมที่สุด โดย สภาวะดังกล่าวสามารถผลิตโอสิไกแซกคาไรค์ที่มีขนาดเล็ก มีน้ำหนักโมเลกุล เท่ากับ 643 ดาลตัน รวมทั้ง มีค่าพรีไบโอติกแอกดิวิตี้สูงที่สุดเมื่อทดสอบกับเชื้อ Bifdobaceriun animalis TISTR 2195 (7.76) และ Lactobacillus reuteri DSM 1 7938 (6.87) จากการวิเคราะห์องค์ประกอบของน้ำตาลในเพกทิกโอลิไกแชกคาไรค์ด้วย HPLC พบว่า ฟรุกไตส และกลูโคส เป็นน้ำตาลที่พบมากที่สุด สำหรับการจำลองการหมักพรีไบโอติก พบว่า เมื่อเติมเพกทิกโอลิไกแซกคาไรค์ที่ความเข้มขันร้อขละ 4 น้ำหนักโดย ปริมาตรเชื้อ B. animals TISTR 2195 มีการเพิ่มจำนวนและผลิตกรดไขมันสายสั้นที่สูงกว่าเชื้อ L. reuteri DSM 17938 ดังนั้น จากการทดลองนี้จึงสามารถสรุปได้ว่า เพกทิกโอลิโกแซกคาไรค์จากเปลือกมะม่วง เป็นแหล่งของโอสิโกแซกศาไรค์ชนิดใหม่ในการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของการผลิตเพกทิน และเพกทิกโอสิโกแซกตาไรต์จากเปลือกมะม่วง โดยใช้การประเมินมูลค่าปัจุบันสุทธิ อัตราผลตอบแทนภายใน ระยะเวลา คืนทุนและการวิเคราะห์ความไว พบว่า การผลิตเพกทิกโอลิโกแซกตาไรค์เป็นทางเลือกที่ดีกว่าการผลิดเพกทินเนื่องจาก มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (255.71 ล้านดอลลาร์) และอัตราผลตอบแทน (ร้อยละ 57.42) ที่สูงกว่ารวมทั้ง ใช้ระยะเวลาในการคืนทุนที่ต่ำกว่า (1.74 ปี) สำหรับการวิเคราะห์ความไวสามารถอธิบายได้ว่า กำลังการผลิตของโรงงานมีอิทธิพลมากที่สุดต่อการสะสมทุน ในขณะที่ วันผลิตมีผลน้อยที่สุด และการ เพิ่มวันในการผลิตที่มากขึ้นจะส่งผลให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิลดลง จากผลการวิเคราะห์ที่มีมูลค่านี้ สามารถ ยื่นยันได้ว่าการผลิตเพกทิกโอลิโกแซกคาไรด์มีความคุ้มค่าและ ให้ผลตอบแทนที่ดีสำหรับการลงทุน ผลจากการวิจัยครั้งนี้จะเป็น โอกาสในสร้างผลกำไรสำหรับการเติบ โตอย่างยั่งยืนของประเทศ และเป็น แนวทางพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการผลิตส่วนประกอบที่เพิ่มมูลค่าจากชีวมวลของอุตสาหกรรมผลไม้ ไทย | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Sciences and Technology: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
619951010 มาลัยพร วงค์แก้ว.pdf | 6.11 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.