Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74239
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นัทมน คงเจริญ | - |
dc.contributor.author | อนุรักษ์ ลองวิลัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-15T09:14:31Z | - |
dc.date.available | 2022-10-15T09:14:31Z | - |
dc.date.issued | 2564-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74239 | - |
dc.description.abstract | Thailand has guaranteed the right of the offenders to receive compensation for the dismissal from the criminal cases. This right was granted by the Constitution of 1997, article 246, and later promulgated the Damages for the Injured Person and Compensation and Expense for the Accused Criminal Case Act of 2001. However, since the law entered into force, the offenders submitted compensation petitions 11,946, but there were only 2,489 whom the courts dismissed the case and received compensation. Moreover, in the appeal procedure, the number of compensations was reduced to 330 from 436 defendants in the criminal cases. The criminal procedural system in Thailand bascs on an adversarial system. The courts' hearing rule is also that the evidence must "prove beyond a reasonable doubt." Therefore, when the trial procedure has no concrete evidence to prove that the offenders were guilty. Then, this should be enough to dismiss the cases. However, the cases' sentencing mainly does not demonstrate further argument to prove that the accused were innocent. According to article 20(3) of this legislation, it requires that the offenders were not the criminal, or the offenders' act was not a crime. Hence, the accused could not receive compensation. This paper would propose an improvement of the provision to "in case that there cannot provide sufficient evidence to prove the defendant guilty, the accused who was dismissed from the court is subject to the compensation, except they plea guilty, but the law requires the dismissal case by the court. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความไม่เป็นธรรมในการจ่ายเงินค่าทดแทนให้แก่จำเลย ในคดีอาญา: กรณีคดีสีเทา | en_US |
dc.title.alternative | Injustice upon compensation for the accused criminal cases: a case study of the grey cases | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | กระบวนการยุติธรรมทางอาญา | - |
thailis.controlvocab.thash | การจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นธรรม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | - |
thailis.controlvocab.thash | การจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นธรรม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ประเทศไทยได้รับรองสิทธิของจำเลยที่ศาลยกฟ้องให้ได้รับการเยียวยาจากรัฐ จากการรับรอง ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 246 และนำหลักการดังกล่าว มากำหนด แนวทางและกระบวนการใช้ในพระราชบัญญัติค่ตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่ จำเลยในคคีอาญา พ.ศ. 2544 ได้รับรองสิทธิที่จะได้รับค่าทคแทนแก่จำเลยในคดีอาญาที่ศาลยกฟ้อง แต่ปรากฏว่านับตั้งแต่มีการใช้พระราชบัญญัติคำตอบแทนฯ พบว่า จำเลยที่ศาลยกฟ้องได้ใช้สิทธิ ขอรับการเยียวยาจากรัฐจำนวนทั้งสิ้น 11,946 กน มีเพียง 2,489 คน ที่ศาลยกฟ้องและได้รับการเยียวยา และในชั้นศาลอุทธรณ์ จำนวน 330 คน จากจำนวน 436 คน ที่อุทธรณ์คำวินิจฉัยของคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา จากระบบการพิจารณาคดีอาญาของประเทศไทยที่ใช้ระบบกล่าวหาที่ให้โจทก์มีหน้าที่เสนอ พยานหลักฐานและจำเลยมีหน้าที่ในการหักล้างพยานหลักฐาน หากโจทก์มีพยานหลักฐานไม่เพียงพอ ศาลจะพิพากษาว่าพยานหลักฐานโจทก์ยังมีน้ำหนักไม่เพียงพอจึงยกผลประโยชน์แห่งความสงสัย ให้แก่จำเลยจึงยกฟ้องโจทก์ไป เมื่อคำพิพากษาไม่ได้พิพากษาว่าจำเลยเป็นผู้บริสุทธิ์ทำให้ไม่เข้า หลักเกณฑ์ตามมาตรา 20 (3) แห่งพระราชบัญญัติค่าตอบแทนฯ ที่กำหนดว่าจำเลยที่ศาลยกฟ้องจะมี สิทธิได้รับการเยียวยาจากรัฐต้อง "ปรากฎหลักฐานชัดเจนว่าจำเลยมิได้เป็นผู้กระทำความผิดและมีการ ถอนฟ้องในระหว่างการดำเนินคดี หรือปรากฎตามคำพิพากษาอันถึงที่สุดในคดีนั้นว่าข้อเท็จจริงฟัง เป็นยุติว่าจำเลยมิได้เป็นผู้กระทำความผิด หรือการกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิด" ทำให้จำเลยที่ ศาลยกฟ้องส่วนใหญ่ไม่ได้รับการเยียวยาจากรัฐ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่จำเลยที่ศาลยก ฟ้อง จึงควรแก้ไขข้อความในพระราชบัญญัติก่ตอบแทนฯว่า "กรณีไม่ปรากฏหลักฐานชัดแจ้งว่า จำเลยเป็นผู้กระทำความผิด ให้จำเลยที่ศาลยกฟ้องมีสิทธิได้รับการเยียวยาจาก เว้นแต่จำเลยให้การรับ สภาพ แต่โดยผลทางกฎหมายทำให้ศาลต้องพิพากษายกฟ้อง | en_US |
Appears in Collections: | LAW: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
592032015 อนุรักษ์ ลองวิลัย.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.