Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77952
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorParichat Ong-artborirak-
dc.contributor.authorKitbordin Thongduangen_US
dc.date.accessioned2023-06-07T01:18:18Z-
dc.date.available2023-06-07T01:18:18Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77952-
dc.description.abstractDiabetes mellitus (DM) remains a public health issue with increasing cases, particularly among the elderly. DM causes poor health and a diminished quality of life. Family members play an important role in providing care for elderly diabetic patients. The patient’s quality of life may be affected by family caregiver factors. The objective of this cross-sectional study was to determine the influence of family caregivers’ diabetes knowledge and patient-care behaviors on the QoL among elderly diabetic patients. The participants included 354 elderly patients with Type 2 DM and their family caregivers, who were recruited through multistage sampling from five districts in Chiang Mai, Thailand. Face-to-face interviews with elderly diabetic patients were conducted using the Thai Simplified Diabetes Knowledge Scale (T-SDKS), the Thai version of the Diabetes Self-Management Questionnaire (DSMQ) for self-care behaviors, the Thai version of the World Health Organization Quality of Life for Older People (WHOQOLOLD) scale. For family caregivers, their diabetes knowledge was measured by T-SDKS, and patient-care or supportive behaviors were developed based on DSMQ. Linear regression was used to identify how caregivers’ diabetes knowledge and patient-care behaviors influenced patients’ quality of life. The results showed that mean age of patients and their family caregivers were 69.15 ± 6.93 years and 51.43 ± 14.57 years, respectively. Patients had an average diabetes knowledge score of 8.27 ± 3.93 points, while caregivers had a slightly higher diabetes knowledge score of 8.42 ± 3.79 points. The mean score for self-care behaviors among patients was 7.14 ± 1.58 points, while the mean score for patient-care behavior among caregivers was 7.40 ± 1.58 points. Most of the patients had a moderate level of quality of life (55.9%). According to a simple linear regression analysis, the quality of life score among elderly diabetic patients was positively associated with their diabetes knowledge (B = 1.25), self-care behaviors (B = 3.00), caregivers’ diabetes knowledge (B = 0.97), and patient-care behaviors (B = 2.92) at a significance level of p <0.01. In the multivariable model, caregivers’ diabetes knowledge (B = 0.58, p = 0.001) and patientcare behaviors (B = 1.38, p = 0.004) were significantly associated with the quality of life among elderly diabetic patients when controlling for patient factors, including age, body mass index, education, living arrangements, and self-care behaviors, which accounted for 27.0% of the variance. The findings demonstrated the influence of diabetes knowledge and behaviors among both elderly patients and their family caregivers on patients’ quality of life. An intervention and measures should be provided for elderly diabetic patients and their family caregivers simultaneously to improve their diabetes knowledge and behaviors, enhancing patients’ quality of life.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectquality of lifeen_US
dc.subjectdiabetes mellitusen_US
dc.subjectknowledgeen_US
dc.subjectbehavioren_US
dc.subjectcaregiveren_US
dc.subjectelderlyen_US
dc.titleKnowledge and Behavior of family Caregivers Influencing Quality of life Among Elderly Diabetic Patients in Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeความรู้และพฤติกรรมของผู้ดูแลที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesisen_US
thailis.controlvocab.lcshDiabetics-
thailis.controlvocab.lcshOlder diabetics-
thailis.controlvocab.lcshOlder people-
thailis.controlvocab.lcshDiabetics -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshOlder diabetics -- Chiang Mai-
article.epageThesis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคเบาหวานเป็นปัญหาค้านสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่กำลังเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพและทำให้มีคุณภาพชีวิตแย่ลง สมาชิกใน ครอบครัวจึงมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุดังนั้น ปังจัยต่าง ๆ ของผู้ดูแลอาจ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุได้ การศึกบาภาคตัดขวางนี้จึงสนใจศึกษาอิทธิพลของความรู้เบาหวานและพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยของผู้ดูแลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป้วยเบาหวานสูงอายุกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้สูงอายุที่ป่ายด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผู้ดูแลซึ่งเป็นสมาชิกใน ครอบครัว จำนวนกลุ่มละ 354 คน คัดเลือก โดขการสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอนจากพื้นที่ 5 อำเภอใน จังหวัดเชียงใหม่ ทำการเก็บข้อมูลด้วขวิธีการสัมภาษณ์ราชบุคคล โดยใช้แบบสอบถาม ในกลุ่มผู้ป่วย เบาหวานสูงอายุประกอบด้วยแบบสอบถามความรู้เบาหวาน (T-SDKS) แบบสอบถามการจัดการ ตนเองของผู้ป่วย (DSMO) สำหรับการประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุขององค์การอนามัยโลก (WHOQ0L-0LD) ในกลุ่มผู้ดูแลประกอบด้วยแบบสอบถาม ความรู้เบาหวาน (T-SIDKS) และแบบสอบถามพฤดิกรรมการดูแลผู้ป่วยเบาหวานซึ่งพัฒนาขึ้นจาก แบบสอบถามการจัดการตนเองของผู้ป่วย (DSMQ) วิเคราะห์ ข้อมูล โดยใช้สถิติถคถอยเชิงเส้น (Lincar regression) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุและผู้ดูแลมีค่าเฉลี่ยอายุเท่ากับ 69.1 - 6.9 ปี และ 51.4 * 14.6ปี ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยความรู้เบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุ เท่ากับ 8.3 +3.9 คะแนน และผู้ดูแล เท่ากับ 8.4 = 3.8 คะแนน ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุ เท่ากับ 7.1 + 1.6 คะแนน และพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยของผู้ดูแล เท่ากับ 7.4 + 1.6 คะแนน ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 55.9 การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายพบว่า คะแนนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคะแนนความรู้เบาหวานของผู้ป่วย (B = 1.25) พฤติกรรมการดูแลตนเอง (B = 3.00) ความรู้เบาหวานของผู้ดูแล (B = 0.97) และพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วย (B = 2.92) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุพบว่า คะแนนความรู้เบาหวานของผู้ดูแล (B - 0.58, p = 0.001) และพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วย (B = 1.38, p-0.004) มีความสัมพันธ์กับคะแนนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อควบคุมอิทธิพลของปัจจัยด่าง ๆ ของผู้ป่วย ได้แก่ อายุ ค่าคัชนีมวลกาย ระดับการศึกษา ผู้อาศัยอยู่ร่วมบ้าน และคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเอง โดยสามารถทำนายคะแนนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุได้ ร้อยละ 27.0 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของความรู้เบาหวานและพฤดิกรรมของผู้ดูแลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่ายเบาหวานสูงอายุ ดังนั้น ควรมีการให้ไปรแกรมหรือมาตรการส่งเสริมความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับโรคเบาหวานทั้งในผู้ป่ายและผู้ดูแลอย่างควบคู่กันเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:PH: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632232002_Kitbordin Thongduang.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.