Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรกฤตธ์ ลีลารุ่งระยับ-
dc.contributor.advisorจักรกริช กล้าผจญ-
dc.contributor.authorธนวัฒน์ สอนมาen_US
dc.date.accessioned2023-06-12T01:00:04Z-
dc.date.available2023-06-12T01:00:04Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78003-
dc.description.abstractThis study aimed to evaluate the immediate effect on nitric oxide (NO) and other oxidative stress parameters (malondialdehyde, MDA and glutathione, GSH) from moderate-intensity interval exercise (MIIE) compared with moderate-intensity continuous exercise (MICE). This study was performed in 14 healthy sedentary males aged between 18 and 23 years with a mean age of 20.21± 1.47 years. All of the participants were required to take MICE randomly at 60% (21.15±2.39 ml.min 1 .kg-1 ) of maximal oxygen consumption (VO2max) (35.24 ± 3.99 ml.min-1 .kg-1 ) for 30 mins, and MIIE in three cycles of between low- and moderate-intensity at 40% (14.09 ± 1.59 ml.min-1 .kg-1 ) and 70% (24.67±2.79 ml.min-1 .kg-1 ) of VO2max, respectively, for 37 mins with stationary bicycling. Before and immediately after exercise, blood of the participants was taken to evaluate oxidative stress markers. The results found that none of the parameters were statistically different before either MICE or MIIE exercises; NO (1.86 ± 0.68 and 1.76 ± 0.59 µmol/L), MDA (1.89 ± 0.59 and 1.81 ± 0.53 µmol/L), GSH (2.86 ± 0.65 and 2.75 ± 0.64 mmol/L). After MICE, the NO (2.53 ± 0.58 µmol/L) and MDA (2.32 ± 0.52 µmol/L) increased, whereas GSH (2.39 ± 0.52 mmol/L) decreased significantly, the same as in the MIIE results regarding MDA (2.16 ± 0.54 µmol/L) and NO (2.80 ± 0.62 µmol/L). However, the GSH result was not significantly different after finishing the MIIE (2.56 ± 0.59 mmol/L). It was noticeable that the oxidative stress parameters between exercises were not statistically different, except for the NO in MIIE compared with MICE. Therefore, it can be concluded that MIIE in this preliminary study induces more release of NO and involves less antioxidant GSH when compared with MICE.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการตอบสนองระยะเฉียบพลันระหว่างการออกกำลังกายแบบช่วงและแบบต่อเนื่องที่ระดับความหนักปานกลางต่อภาวะออกซิเดทีฟสเตรสในอาสาสมัครเพศชายที่มีสุขภาพดีen_US
dc.title.alternativeImmediate effect of moderate-intensity interval and continuous exercise on oxidative stress among healthy sedentary menen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashการออกกำลังกาย-
thailis.controlvocab.thashออกซิเดทีฟสเตรส-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงและเปรียบเทียบปริมาณไนทริก ออกไซด์ มาลอนไดอัลดีไฮด์และกลูตาไธโอนจากการออกกำลังกายแบบช่วงและแบบต่อเนื่องที่ระดับความหนักระดับปานกลาง โดยทำการศึกษาในอาสาสมัครเพศชายสุขภาพดี ช่วงอายุ 18-23 ปี อายุเฉลี่ย 20.21 ± 1.47 ปี ซึ่งทุกคนสุ่มปั่นจักรยานแบบต่อเนื่องที่ระดับความหนักที่ร้อยละ 60 (21.15 ± 2.39 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อกิโลกรัม)ของปริมาณออกซิเจนสูงสุด (35.24 ± 3.99 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อกิโลกรัม) เป็นเวลา 33 นาที และแบบช่วงเบาถึงปานกลางที่ความหนักร้อยละ 40 (14.09 ± 1.59 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อกิโลกรัม) และ 70 (24.67 ± 2.79 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อกิโลกรัม) ของปริมาณออกซิเจนสูงสุดตามลำดับ รวมเป็นเวลา 37 นาที ห่างกัน 1 สัปดาห์ ก่อนและหลังการออกกำลังกาย อาสาสมัครได้รับการเจาะเลือดเพื่อนำไปตรวจตัวชี้วัดความเครียดออกซิเดชัน ผลการศึกษาพบว่าก่อนการออกกำลังกายทั้งแบบต่อเนื่องและแบบช่วง ปริมาณตัวแปรต่างๆ ได้แก่ ไนทริกออกไซด์ (1.86 ± 0.68 และ 1.76 ± 0.59 ไมโครโมลาร์) มาลอนไดออลดีไฮด์ (1.89 ± 0.59 และ 1.81 ± 0.53 ไมโครโมลาร์) และกลูตาไธโอน (2.86 ± 0.65 และ2.75 ± 0.64 มิลลิโมลาร์) ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ในขณะที่หลังจากออกกำลังกายแบบต่อเนื่อง พบว่าปริมาณไนทริกออกไซด์ (2.53 ± 0.58 ไมโครโมลาร์) และ มาลอนไดออลดีไฮด์ (2.32 ± 0.52 ไมโครโมลาร์) มีค่าเพิ่มขึ้น กลูตาไธโอน (2.39 ± 0.52 มิลลิโมลาร์) มีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เช่นเดียวกับการออกกำลังกายแบบช่วงที่ระดับความหนักปานกลาง ปริมาณไนทริกออกไซด์ (2.80 ± 0.62 ไมโครโมลาร์) และมาลอนไดออลดีไฮด์ (2.16 ± 0.54 ไมโครโมลาร์) มีค่าเพิ่มขึ้น แต่ปริมาณกลูตาไธโอน (2.56 ± 0.59 มิลลิโมลาร์) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้พบว่าหลังการออกกำลังกายมีเพียงไนทริกออกไซด์ที่หลังการออกกำลังกายแบบช่วงที่ระดับความหนักปานกลางมีค่าสูงกว่าหลังการออกกำลังกายแบบต่อเนื่อง ดังนั้นจากการศึกษานำร่องนี้สรุปได้ว่าการออกกำลังกายแบบช่วงที่ระดับความหนักปานกลางชักนำให้มีการหลั่งไนทริกออกไซด์มากกว่าและรบกวนสารต้านออกซิเดชันอย่างกลูตาไธโอนน้อยกว่าการออกกำลังกายแบบต่อเนื่องที่ระดับความหนักปานกลางen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:RIHES: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
629932002 ธนวัฒน์ สอนมา.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.