Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78006
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ บุญเชียง-
dc.contributor.advisorสินีนาฏ ชาวตระการ-
dc.contributor.authorสุพรรณิการ์ สิงห์จูen_US
dc.date.accessioned2023-06-12T09:42:52Z-
dc.date.available2023-06-12T09:42:52Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78006-
dc.description.abstractStroke remains a tense public health problem in Thailand. However, stroke can be prevented if persons at risk of this disease perform their appropriate self-care behaviors. This cross-sectional study aimed to investigate relationships between health literacy and family support on self-care behaviors among persons at risk of stroke. The samples were 97 persons at risk of stroke, aged 35-70 years old, and attended services at the outpatient department of Chiang Mai Neurological Hospital. The sample was selected according to the inclusion criteria and convenience sampling. Data were collected by the questionnaires, including personal data, health literacy, family support, and self-care behaviors in persons at risk of stroke. The data were then analyzed using descriptive statistics and Spearman's rank correlation coefficient. The study results revealed as follows: Health literacy (x̅=27.90, SD=5.90), family support (x̅=77.65, SD=11.67) and self-care behaviors (x̅- 41.55, SD=7.31) in persons at risk of stroke were overall at a high level. Health literacy had a positive correlation with self-care behaviors in persons at risk of stroke at a moderate level with a statistical significance (r = 0.408, p<0.001). However, family support was not relevant to self-care behaviors in persons at risk of stroke. These results represented that health literacy is elemental for self-care behaviors in persons at risk of stroke. Therefore, healthcare providers should find the guidelines to promote health literacy among persons at risk of stroke for their effective self-care behaviors and further stroke prevention.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรอบรู้ด้านสุขภาพและการสนับสนุนจากครอบครัวต่อพฤติกรรม การดูแลตนเองในผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.title.alternativeRelations of health literacy and family support on self-care behaviors among people at risk of strokeen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashโรคหลอดเลือดสมอง-
thailis.controlvocab.thashโรคหลอดเลือดสมอง -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashสมอง -- หลอดเลือด-
thailis.controlvocab.thashสมอง -- โรค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคหลอดเลือดสมองยังคงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตาม โรคหลอดเลือดสมองก็สามารถป้องกันได้ หากผู้ที่มีภาวะเสี่ยงมีพฤติกรรมการดูแลตนเองอย่าง เหมาะสม การวิจัยแบบตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการสนับสนุนจากครอบครัวต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรดหลอดเลือดสมองจำนวน 97 ราย มีอายุระหว่าง 33-70 ปี และเข้ารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ โดยการสุ่มตามความสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การสนับสนุนจากครอบครัว และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติสหสัมพันธ์แบบลเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า ความรอบรู้ค้านสุขภาพ (x̅=27.90,SD-5.90) การสนับสนุนจากครอบครัว (x̅=77.65, SD-11.67) และพฤติกรรมการดูแลตนเอง (x̅=4.55.SD-7.31) ของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือคสมองโดยรวมอยู่ในระดับสูง ความรอบรู้ค้านสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r= 0.408, p<0.001) ส่วนการสนับสนุนจากครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นพื้นฐานที่สำคัญของพฤติกรรม ดูแลตนเองในผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ดังนั้นบุคลาการทางสุขภาพจึงควรหาแนวทางในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง เพื่อให้สามารถดูแลตนได้อย่างเหมาะสมและเพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองต่อไปen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:PH: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612232019-สุพรรณิการ์ สิงห์จู.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.