Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสืบศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ-
dc.contributor.authorหลิว, ซูหานen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T11:20:19Z-
dc.date.available2023-07-11T11:20:19Z-
dc.date.issued2564-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78442-
dc.description.abstractThis study of ''Guidelines for Yunnan Chinese Food Culture Management in Kea Noi Village, to be a Learning Center for Chinese Arts and Culture in Yunnanese, Kea Noi Village, Chiang Dao District, Chiang Mai Province". This study is based on investigating the historical sources, social background and cultural traditions of Kae Noi Village, so as to study the existing food and cultural habits of the Chinese village from the source. This research focuses on qualitative research, interdisciplinary research and descriptive research, and analyzes and discusses the history, social background and cultural traditions of local Yunnanese villages. Put forward whether the idea of opening an art and cultural learning center on Yunnan food culture in Kea Noi Village, Chiang Dao District, Chiang Mai Province can to help the Yunnanese community better protect and inherit traditional food culture. The results of the study revealed that Kae Noi Village has a Yunnan Chinese food culture that has been inherited for a long time to the present. Although the new generation of Kae Noi Village people grew up in a traditional environment from a young age. But most of them still do not understand the specific meaning of traditional culture due to the lack of experience skills, traditional patterns professional traditional culture. Therefore, to manage Yunnan Chinese food culture Kae Noi Village to be a learning center for Chinese arts and culture in Yunnanese to help the locals better protect and inherit Chinese traditional culture, especially the food cultureen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectวัฒนธรรมอาหารจีนยูนนานen_US
dc.subjectจีนยูนนานen_US
dc.titleแนวทางการจัดการวัฒนธรรมอาหารจีนยูนนานหมู่บ้านแกน้อยให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมของชาวจีนยูนนาน หมู่บ้านแกน้อย ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for Yunnan Chinese food culture management in Kea Noi Village, to be a learning center for Chinese arts and culture in Yunnanese, Kea Noi Village, Mueang Na Sub-district, Chiang Dao District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashหมู่บ้านแกน้อย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashอาหารจีน -- เชียงดาว (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashเชียงดาว (เชียงใหม่) – ความเป็นอยู่และประเพณี-
thailis.controlvocab.thashเชียงใหม่ – ความเป็นอยู่และประเพณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง "แนวทางการจัดการวัฒนธรรมอาหารจีนยูนนานหมู่บ้านแกน้อยให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ด้านศิลปะและ วัฒนธรรมของชาวจีนยูนนาน หมู่บ้านแกน้อย ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่" นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเพื่อศึกษาภูมิหลังประวัติความเป็นมา สภาพทางสังคม และวัฒนธรรมของชาวจีนยูนนาน หมู่บ้านแกน้อย ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาวัฒนธรรมอาหารจีนยูนนานในชุมชน หมู่บ้านแกน้อย ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม่ เพื่อเสนอแนวทางการจัดการวัฒนธรรมอาหารจีนยูนนานให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะและ วัฒนธรรมในชุมชนหมู่บ้านแกน้อย ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนสภาพ ปัญหา ผลการศึกษาพบว่าชุมชนบ้านแกน้อยมีวัฒนธรรมอาหารของชาวจีนนนานที่สืบทอดติดต่อ กับมายาวนานจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าคนในหมู่บ้านแกน้อยรุ่นใหม่ได้มีการเติบโตมาในสภาพแวดล้อ ม แบบดั้งเดิมตั้งแต่ขังเด็ก แต่พวกเขาส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจความหมายเฉพาะ ของวัฒนธรรมดั้งเดิม เนื่องจากขาดทักษะความรู้ด้านประสบการณ์รูปแบบประเพณี วัฒนธรรมแบบดั้งเดิมอย่างมืออาชีพ ดังนั้นการที่จะจัดการวัฒนธรรมอาหารจีนยูนนาน หมู่บ้านแกน้อย ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะและ วัฒนธรรมของจีนยูนนาน เพื่อคงให้ประเพณีต่าง ๆ โดยเฉพาะวัฒนธรรมอาหารสืบต่อไปอย่าง ยาวนานนั้นen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610332007 LIU SHUHAN.pdf6.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.