Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78508
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วราภรณ์ บุญเชียง | - |
dc.contributor.advisor | อักษรา ทองประชุม | - |
dc.contributor.author | เจษฎาภรณ์ สุธรรม | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-18T00:35:16Z | - |
dc.date.available | 2023-07-18T00:35:16Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78508 | - |
dc.description.abstract | The objective of this mixed methods research was to determine the relationship between health knowledge, self-care behaviors, and health status of monks in Li District, Lamphun Province. The sample was monks who had been ordained for more than a year. For quantitative research, the data were collected using the questionnaires with 4 sections, including the general information of monks, health status assessment form of monks, health knowledge of monks, and self-care behavior of monks. The 127 samples were randomly chosen by convenience sampling method. For the qualitative research, the data were collected using a structured interview regarding the self-care behavior of monks. Based on the qualifications for the key informant, eight samples of monks were chosen. the content validity and reliability were accessed all aspects of the topic. Quantitative data were analyzed using descriptive statistics using Pearson’s correlation coefficient analysis and chi-square statistics. While the qualitative data were analyzed using induction method. The findings indicated that the most of the monks had high levels of health knowledge and moderate self-care behaviors, and overnutrition (52.7 percent). The majority of them (76.7%) suffer minor stress. There was a statistically significant negative correlation with the nutritional knowledge of monks with waist circumference (r = .194). Health knowledge on stress management was positively correlated with self-care behavior on stress management (r = .207). Additionally, the self-care behavior on stress management was negatively correlated with stress levels (r = .350). The self-care behaviors regarding exercise were negatively correlated with body mass index (r = -.194). The findings for the qualitative study showed that the monks consumed locally produced foods that people prepared at home and seasonal vegetables. Some of the local monks follow a vegetarian or vegan diet. Along with receiving food offerings and walking for frequent exercise, they also work inside the temple, clean the courtyard, obtain proper rest, and maintain a clean body. The barriers or problems at the temple have been managed according to Dhamma principles to help the monks who occasionally suffer with stress management. The study's findings reveal the relationship between monks health knowledge, self-care behaviors, and health status. Therefore, the appropriate agencies should promote the physical and mental well-being of monks, educate about health knowledge and conduct actions consistent with Dhamma principles applicable to the monks' routines and local context, and so on. These could improve health status of monks. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและภาวะสุขภาพของพระสงฆ์ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between health knowledge, self-care behaviors and health status of monks, Li District, Lamphun Province | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.thash | สงฆ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | สงฆ์ -- ลี้ (ลำพูน) | - |
thailis.controlvocab.thash | สงฆ์ -- โภชนาการ | - |
thailis.controlvocab.thash | สงฆ์ -- สุขภาพและอนามัย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยแบบผสานวิธีครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและภาวะสุขภาพของพระสงฆ์ ในอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน กลุ่ม ตัวอย่าง คือ พระสงฆ์ที่มีอายุพรรษาตั้งแต่ 1 พรรษาขึ้นไป ในส่วนการศึกษาเชิงปริมาณ เก็บรวบรวม ข้อมูลจากแบบสอบถาม ทั้งหมด 4 ส่วน ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของพระสงฆ์ แบบ ประเมินภาวะสุขภาพพระสงฆ์ แบบทดสอบความรู้ด้านสุขภาพ และแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแล สุขภาพตนเองของพระสงฆ์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบตามสะดวก จำนวน 127 รูป สำหรับ การศึกษาเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ในประเด็นพฤติกรรมการดูแล ตนเองของพระสงฆ์ คัดเลือกลุ่มตัวอย่างจากการกำหนดลักษณะคุณสมบัติตามเกณฑ์เป็นผู้ที่มี ความสามารถในการให้ข้อมูลได้เป็นอย่างดี จำนวน 8 รูป ซึ่งเครื่องมือได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือก่อนนำไปใช้ โดยมีค่าดัชนีความตรงทางเนื้อหาและค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่ ขอมรับได้ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยข้อมูลทั่วไป ใช้สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ ข้อมูลหา ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมนและสถิติไคสแควร์ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์ แบบอุปนัย โดยการบรรยายเชิงพรรณนาสรุปตีความหมาย ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า พระสงฆ์ส่วนใหญ่มีความรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับความรู้มาก มี พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง และพระสงฆ์มีภาวะ โภชนาการเกิน ร้อยละ 52.7 ส่วนใหญ่มีความเครียดในระดับความเครียดน้อย ร้อยละ 78.7 สำหรับความสัมพันธ์ ความรู้ด้าน โภชนาการของพระ สงฆ์มีความสัมพันธ์ทางลบกับเส้นรอบเอว (r = .194) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ความรู้ด้านสุขภาพด้านการจัดการความเครียด (r = .207 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองด้านการจัดการความเครียด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพระสงฆ์ด้านการจัดการความเครียด (r = .350) มีความสัมพันธ์ ทางลบกับระดับความเครียด อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ พระสงฆ์ด้านการออกกำลังกาย (r = -.194) มีความสัมพันธ์ทางลบกับดัชนีมวลกาย อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ส่วนของผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า พระสงฆ์ฉันอาหารพื้นบ้านที่ญาติโยมทำขึ้นเองใน ครัวเรือน ประเภทผักต่างๆ ตามฤดูกาลเป็นส่วนใหญ่ พระสงฆ์บางพื้นที่อาหารเจหรือมังสวิรัติที่ไม่มี เนื้อสัตว์ มีการออกกำลังกายตามกิจวัตรด้วยการเดินบิณฑบาต ทำงานภายในวัด กวาดลานวัด ได้รับ นอนหลับพักผ่อนที่เพียงพอ ดูแลรักษาความสะ อาคร่างกายอยู่เสมอ และพระสงฆ์เกิดปัญหา ความเครียดในบางครั้งเกี่ยวกับการบริหารจัดการ อุปสรรคการทำงานภายในวัด ได้ใช้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนามาช่วยจัดการความเครียด จากการวิจัยครั้งนี้ พบว่ ความรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและภาวะ สุขภาพของพระ สงฆ์มีความสัมพันธ์กัน มีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พัฒนาสุขภาพ พระสงฆ์ให้คลอบคลุมทั้งทางกายและทางใจ ส่งเสริมให้มีความรู้และ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของ ตนเองที่ถูกต้องตามหลักพระธรรมวินัย สอดคล้องกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและบริบทพื้นที่ของ พระสงฆ์ เพื่อให้พระสงฆ์มีสุขภาวะที่ดีสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ | en_US |
thesis.conceal | Publish (Not conceal) | en_US |
Appears in Collections: | PH: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
602232004 เจษฎาภรณ์ สุธรรม.pdf | 3.37 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.