Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีวรา สุวรรณ-
dc.contributor.authorวิทวัส มูลณีen_US
dc.date.accessioned2023-10-28T09:03:30Z-
dc.date.available2023-10-28T09:03:30Z-
dc.date.issued2565-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79106-
dc.description.abstractOrdinary Portland Cement (OPC) is one of the main contributors that releases a huge amount of carbon dioxide (CO2) to the atmosphere. Moreover, intensive energy is also consumed during its production process. Alternative cementitious materials, e.g. Geopolymer, have therefore been widely studied in order to partially or totally replace the usage of that OPC. Geopolymer (GP) is a binder synthesized from the mixing of alkaline activators with any pozzolanic materials, including fly ash. At the present, most of the research works on geopolymer cement are carried out on the use of a laboratory-grade alkaline activator, due to its stability and purity. To be more suitable for practical works, an industrial-grade alkaline activator was hence used for the GP synthesis in comparison to those of laboratory-grade GP. The main aim of this research is to study the feasibility of using the industrial-grade activators in practical usages through the experimental work of physical properties, mechanical properties, micro mechanisms, and cost-effectiveness. The results show that, according to TIS standard, there are 2 categories of alkaline grades viz. grade 1 and grade 2. All of the alkaline activators under TIS provided very similar results after being used in geopolymer productions. However, it is noted that the purity of those activators was specifically higher than 98%. The overall cost of geopolymer production was significantly reduced when the industrial-grade activator is used up to 80%. Therefore, the usage of industrial-grade of alkaline activators can be used in GP production for practical work and in the field applications.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์en_US
dc.titleคุณสมบัติและโครงสร้างทางจุลภาคของเถ้าลอยจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์ที่ใช้สารกระตุ้นด่างชนิดห้องปฏิบัติการและชนิดอุตสาหกรรมen_US
dc.title.alternativeProperties and microstructures of fly-ash based geopolymer using laboratory grade activator and industrial grade alkalime activatoren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าแม่เมาะ-
thailis.controlvocab.thashเถ้าลอย-
thailis.controlvocab.thashปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์-
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าพลังถ่านหิน -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันมีการใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ปริมาณมากเพราะเป็นวัสดุสำคัญในการผลิตคอนกรีตสำหรับ งานก่อสร้าง ซึ่งกระบวนการผลิตปูนชีเมนต์ปอร์ตแลนด์นี้ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จำนวนมหาศาลออกสู่ชั้นบรรยากาศ อีกทั้งเป็นตัวการทำลายสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมือง และพื้นที่ ธรรมชาติ ดังนั้นการใช้จีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์จากเถ้าลอยทดแทนการ ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์จึงเป็นหนึ่ง แนวทางที่ช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการผลิตซีเมนต์ปอรัตแลนด์ และช่วย กำจัดเถ้าลอยซึ่งเป็นกากของเหลือจากอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า จีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์สังเคราะห์ จากการผสมวัสดุตั้งดันกับสารละลาขด่าง ซึ่งวัสดุตั้งดันเป็นวัสดุประเภทปอซโซลานที่มีองค์ประกอบ ของซิลิกา และอะลูมินาเป็นหลัก ในปัจจุบันมีการศึกษา และพัฒนาวัสดุประเภทจีโอโพลิเมอร์ ซีเมนต์ อย่างกว้างขวาง ซึ่งส่วนใหญ่ใช้สารละลายด่างชนิดห้องปฏิบัติการ เพื่อความถูกต้องแม่นยำในการ วิเคราะห์ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น อย่างไรก็ดีสารละ ลายค่างชนิดห้องปฏิบัติการนั้นมีราคาสูง ไม่เหมาะกับ การสังเคราะห์วัสดุจี โอโพลิเมอร์ซีเมนต์ในการใช้งานในทางปฏิบัติหรือภาคสนาม ในงานวิจัยนี้จึงได้ เลือกศึกษาปัจจัยของชนิด (Grade) ของสารละลายด่างที่ใช้ในการสังเคราะห์จีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์ โดย ทำการเปรียบเทียบคุณสมบัติระหว่างจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์จากสารละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ชนิดท้องปฏิบัติการ และชนิดอุตสาหกรรมในด้านต่างๆ จากการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ พบว่าเวลาก่อตัวเริ่มต้นเฉลี่ยของจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์ จาก โซเดียมไฮดร อกไซด์ชนิดห้องปฏิบัติการ และชนิดอุตสาหกรรมเท่ากับ 70 และ 159 นาที ตามลำดับ โดยเวลาก่อตัวเริ่มต้นของจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์จากโซเดียมไฮดรอกไซด์ชนิด ห้องปฏิบัติการมีการก่อตัวเร็วกว่าชนิคอุตสาหกรรม เนื่องจากโซเดียมไฮครอกไซค์ชนิด ห้องปฏิบัติการมีความความบริสุทธิ์ที่มากกว่า ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของการเกิดปฏิกิริยาจีโอโพลิเมอไร เซชัน แต่เวลาก่อตัวเริ่มต้นของจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์ทั้ง 2 ประเภทยังคงผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ มอก. 15 เล่ม 1-2547 หน่วยน้ำหนักของจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์เท่ากับ 2062.3, 2054.2 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์ เมตรตามลำดับ และค่าการไหลแผ่เฉลี่ยของจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์เท่ากับร้อยละ 122.5, 122.8 ตามลำดับ จากการทดสอบคุณสมบัติทางกล พบว่ากำลังรับแรงอัด และกำลังรับแรงดัดของจี โอโพลิเมอร์ ซีเมนต์ทั้ง 2 ประเภทมีค่าแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย โดยกำลังรับแรงอัดสูงสุดเฉลี่ยของจีโอโพลิเมอร์ ซีเมนต์จากโซเดียมไฮดรอกไซด์ชนิดห้องปฏิบัติการ และชนิดอุตสาหกรรมเท่ากับ 352.3 ksc และ 344.3 ksc ตามลำดับ และกำลังรับแรงคัดสูงสุดเฉลี่ยของของจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์จากโซเดียม ไฮดรอกไซด์ชนิดห้องปฏิบัติการ และชนิดอุตสาหกรรมเท่ากับ 172.0 ksc และ 175.9 ksc ตามลำดับ จากการทคสอบคุณสมบัติทางจุลภาค พบว่า จีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์ทั้ง 2 ชนิดมีองค์ประกอบ และพันธะภายในใกล้เคียงกันได้แก่ โซเดียมอะลูมิโนซิลิเกต (Sodium alumino silicate), แคลเซียม ซิลิเกตไฮเดรต (Calcium silicate hydrate), ซิลิกา (Silica), อะลูมินา (Alumina) รวมไปถึงพันธะ O-H และ Si,A1-O-Si นอกจากนี้ผลการทดสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบว่าการ กระจายตัว และโครงสร้างของเนื้อวัสดุจิ โอโพลิเมอร์ซีเมนต์ทั้ง 2 ชนิดมีความใกล้เคียงกัน จากผลการทดสอบพบว่า จีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์ที่สังเคราะห์จากโซเดียมไฮดรอกไซด์ชนิด อุตสาหกรรมมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับการใช้โซเดียมไฮดรอกไซค์ชนิดห้องปฏิบัติการ และจากการ ทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานพบว่า โซเดียมไฮดรอกไซด์ชนิดอุตสาหกรรมมีความบริสุทธิ์ และค่าความ เป็นด่างใกล้เคียงกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ชนิดห้องปฏิบัติการ แต่ต้นทุนในการผลิตจีโอโพลิเมอร์ ซีเมนต์จากโซเดียมไฮดรอกไซด์ชนิดอุตสาหกรรมถูกกว่าการใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ชนิด ห้องปฏิบัติการมากถึงร้อยละ 78-86 ดังนั้นจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์จากโซเดียมไฮดรอกไซด์ชนิด อุตสาหกรรมจึงมีศักยภาพในการนำมาใช้ทดแทนจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์ที่สังเคราะห์จากโซเดียม ไฮดรอกไซด์ชนิดห้องปฏิบัติการได้ และเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการพัฒนาวัสดุจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์ ทดแทนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ที่มีความเหมาะสมทางวิศวกรรม และทางเศรษฐศาสตร์en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631021 วิทวัส มูลณี.pdf10.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.