Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79121
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Woottichai Khamduang | - |
dc.contributor.advisor | Ngo-Giang-Huong, Nicole | - |
dc.contributor.author | Siriluk Takalay | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-28T10:49:34Z | - |
dc.date.available | 2023-10-28T10:49:34Z | - |
dc.date.issued | 2021-08-27 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79121 | - |
dc.description.abstract | Non-healthcare workers with a high potential for exposure to severe acute respiratory syndrome coronavirus type 2 (SARS-CoV-2) may contribute to SARS-CoV- 2 spreading. We assessed the prevalence of SARS-CoV-2 RNA positivity and anti-SARS- CoV-2 IgM/IgG, and potential associated factors among individuals with mild or no symptoms and with a high exposure risk in Chiang Mai and Lamphun provinces, Thailand during the second wave of epidemic. This cross-sectional study enrolled individuals at- risk of SARS-CoV-2 infection during November 2020 - January 2021. Socio- demographic data were collected through an on-line questionnaire prior to collection of nasopharyngeal/throat swab samples and blood samples that were tested for SARS-CoV- 2 RNA (DaAn Gene, China) and anti-SARS-CoV-2 IgM/IgG antibodies (commercial lateral flow immunoassays), respectively. Associated factors were analyzed using univariable and multivariable logistic regression analysis. Of 1,651 participants, 52% were females, the median age was 36.6 years, one-third were Myanmar. None of the participants was positive for SARS-CoV-2 RNA (95% CI: 0-0.2). Fourteen were positive for anti-SARS-CoV-2 IgM/IgG antibodies (0.9%, 95% CI: 0.5-1.4), including 7 positive for IgM and 7 positive for IgG (0.4%, 95% CI: 0.2-0.9). Being over 60 years was independently associated with virus exposure (OR: 17.0, 95% CI: 2.2-128.5%, p=0.006). Despite high exposure risk, no participant presented current infection, and a very high proportion was still susceptible to SARS-CoV-2 infection and thus would clearly benefit from vaccination. Continuing active surveillance, improving vaccination coverage and monitoring response to vaccine will help better control the COVID-19 spread. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Assessment of infection status of virus causing COVID-19 in at-risk populations in Chiang Mai and Lamphun Provinces, Thailand, through an outreach and contactless care service system | en_US |
dc.title.alternative | การประเมินสถานะของการติดเชื้อไวรัสก่อโรคโควิด-19 ในประชากรกลุ่มเสี่ยงในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน ประเทศไทย ผ่านระบบบริการเชิงรุกแบบลงพื้นที่และลดการสัมผัส | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | SARS (Disease) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Coronavirus infections | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Virus diseases | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Communicable diseases -- Transmission | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการสัมผัสกับเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์กลุ่มอาการทางเดินหายใจ เฉียบพลันรุนแรง 2 (SARS-COV-2) ที่ไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์อาจเป็นหนึ่งในกลุ่มเสี่ยงที่มีส่วน ส่งเสริมการแพร่กระจายของไวรัส SARS-C0V-2 ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความ ชุกของเชื้อไวรัส SARS-COV-2 จากการตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อและตรวจหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ ไวรัส (SARS-COV-2 RNA and anti-SARS-CoV-2 IgM/IgG antibody) และระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การตรวจพบสารพันธุกรรมและภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสในกลุ่มประชากรที่มี โอกาสเสี่ยงต่อการสัมผัส กับเชื้อไวรัสชนิดนี้และไม่มีอาการแสดงของโรคโควิด-19 ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน ประเทศไทย ในช่วงการระบาดระลอกที่สองของประเทศไทย การศึกบานี้เป็นการศึกบาแบบตัดขวาง ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2563 ถึง มกราคม 2564 จากอาสาสมัครที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ SARS- CoV-2 ข้อมูลของอาสาสมัครถูกเก็บรวบรวมผ่านแบบสอบถามออนไลน์ก่อนการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ จากนั้นสิ่งส่งตรวจจากโพรงจมูกและช่องคอ รวมถึงเลือดจะถูกนำไปทดสอบหา SARS-COV-2 RNA (DaAn Gene, China) แ ละ anti-SARS-CoV-2 IgM/IgG antibodies (commercial lateral flow immunoassays) ตามลำดับ จากนั้นทำการวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลบวกโดยใช้ univariable and multivariable logistic regression analysis จากอาสาสมัครจำนวน 1,651 คน ร้อยละ 52 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 30 ของอาสาสมัครมีค่าดัชนี มวลกายมากกว่า 25 kg/m2 มีอายุเฉลี่ย คือ 36.6 ปี ประมาณหนึ่งในสามของอาสาสมัครเป็นชาวพม่า ไม่พบตัวอย่างส่งตรวจที่ให้ผลบวกต่อการตรวจหา SARS-CoV-2 RNA (95% CI: 0-0.2) แต่ตรวจพบ แอนติบอดีต่อเชื้อไวรัส (anti-SARS-CoV-2 IgM//IgG) จำนวน 14 ราย (0.9%, 95% CI: 0.5-1.4) โดยที่ เป็นผลบวกต่อ IgM จำนวน 7 ราย และผลบวกต่อ IgG อีก 7 ราย (0.4%, 95% CI: 0.2-0.9) นอกจากนี้ ยังพบว่า ปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการตรวจพบแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัส คือ อาสาสมัครที่มีอายุมากกว่า 60 ปี (OR: 17.0, 95% CI: 2.2-128.5%, p=0.006) กล่าวโดยสรุปคือ แม้ว่าอาสาสมัครในการศึกษา นี้จะมีความเสี่ยงต่อการสัมผัสกับเชื้อไวรัส แต่ไม่พบการติดเชื้อจากตัวอย่างที่ศึกบา อีกทั้งยังมี อาสาสมัครจำนวนมากที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกัน สามารถติดเชื้อไวรัสได้ตลอดเวลาและควรได้รับวัคซีน ป้องกันโรค ดังนั้นการเฝ้าระวังเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง การขยายความครอบคลุมของการฉีดวัคซีนที่มี ประสิทธิภาพและการติดตามการตอบสนองต่อวัคซีน จะช่วยควบคุมการแพร่กระจายของโรคโควิด- 19 ได้ดียิ่งขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621135907 ศิริลักษณ์ ตาคะเล.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.