Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79154
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pradya Somboon | - |
dc.contributor.author | Saowanee Chamnanya | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-08T01:41:27Z | - |
dc.date.available | 2023-11-08T01:41:27Z | - |
dc.date.issued | 2022-05-17 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79154 | - |
dc.description.abstract | Resistance to pyrethroids in Culex quinquefasciatus, a lymphatic filariasis vector, has been reported in many countries including Thailand. Our previous study revealed that deltamethrin resistance in the Cx. quinquefasciatus mosquito is caused by at least two major mechanisms: L1014F knock down resistance (kdr) mutation in the voltage gated sodium channel (VGSC) gene and cytochrome P450s mediated-metabolic mechanism. This study aimed to develop a real-time PCR with melt curve analysis to evaluate the distribution of the L1014F mutation in Cx. quinquefasciatus throughout Thailand and to characterize the expression profiles of cytochrome P450s genes from mosquito strains of Cx. quinquefasciatus in response to deltamethrin phenotypes. A total of 3,760 females from 18 localities across five regions of Thailand were bio-assayed by exposure to 0.05% deltamethrin WHO papers, showing mortality rates ranging from 2.4% to 83.0%. Genotyping of 753 dead and surviving mosquitoes using our novel real-time PCR assay with melt curve analysis and tetra-primer AS-PCR revealed the mutant F1014 allele is closely associated with the deltamethrin resistance phenotype. The L1014F mutation was found at high frequency throughout Thailand, particularly in the North. However, some survivors were homozygous for wild type L1014 allele, which were further sequenced for the IIP-IIS6 region of VGSC gene, indicated the presence of other possible kdr alleles/resistance mechanisms at play including two novel mutations, V977E and D992E. The finding of new putative kdr alleles and widespread distribution of the F1014 allele emphasizes the significant role of kdr mutations in pyrethroid resistance in Thai Cx. quinquefasciatus populations. Monitoring kdr variations and phenotypic resistance is critical for managing resistance in Cx. quinquefasciatus. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Deltamethrin resistance mechanisms in Culex quinquefasciatus populations in Thailand | en_US |
dc.title.alternative | กลไกการต้านทานเดลต้าเมทรินในประชากรยุงรำคาญ Culex quinquefasciatus ในประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Deltamethrin | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Mosquitoes | - |
thailis.controlvocab.thash | Culex quinquefasciatus | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การต้านทานต่อสารกำจัดแมลงไพรีทรอยด์ของยุง Culex quinquefasciatus พาหะนำโรคพยาธิฟิลาเรียมีรายงานพบในหลายประเทศรวมถึงประเทศไทย จากการศึกษาก่อนหน้าพบว่าการด้านทานต่อเดลต้าเมทรินของยุง Cxr. quinquefasciatus เกิดจากสองกลไกหลัก คือ การกลายพันธุ์ L1014F (knock down resistance, kdr) ของยีน โซเดียมแชนเนล และกลไกด้านเมทาบอลิซึมที่มีไซโตโครม พี่ 450s เป็นสื่อกลาง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาวิธี real-time PCR ร่วมกับการวิเคราะห์ melt curve สำหรับประเมินการกระจายของการกลายพันธุ์ L1014F ในยุง Cxr. quinquefasciatus จากทั่วประเทศไทย และเพื่อศึกษาลักษณะการแสดงออกของยีนไซโตโครม พี P450s ที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานต่อเดลต้าเมทรินในยุง Cxr. quinquefasciatus โดยนำยุงเพศเมียจำนวน 3,760 ตัว จาก 18 พื้นที่ใน 5 ภูมิภาคของประเทศไทย มาทดสอบความไวต่อเดลต้าเมทรินความเข้มข้น 0.05% ซึ่งแสดงอัตราการตายในช่วงระหว่าง 2.4-83.0% การตรวจจีโนไทป์ในยุงกลุ่มที่ตายและรอดทั้งหมด 753 ตัว ด้วยวิธี real-time PCR ที่พัฒนาขึ้นและวิธี tetra-primer AS-PCR พบว่า อัลลีลกลายพันธุ์ F1014 มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับสถานะความต้านทานต่อเดลต้าเมทรินที่แสดงออกมา โดยการกลายพันธุ์ L1014F พบมีความถี่สูงในยุงจากทั่วประเทศไทยโดยเฉพาะเขตภาคเหนือ อย่างไรก็ตามยุงที่รอดบางตัว มีจีโนไทป์แบบโฮโมไซกัสไวด์ไทป์ L1014 อัลลีล และผลการวิเคราะห์ลำดับนิวคดีโอไทด์ ส่วน IIP-IIS6 ของยีนโซเดียมแซนเนล พบการกลายพันธุ์ตำแหน่งใหม่ V977E และ D992E บ่งชี้ถึง อาจมีอัลลีล kdr อื่น หรือกลไกต้านทานอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานต่อเดลต้าเมทริน การพบการกลายพันธุ์ของยีนโซเดียมแชลเนลตำแหน่งใหม่ และการกระจายตัวของอัลลีลการกลายพันธุ์ L1014F นั้นเป็นการเน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของการกลายพันธ์ kdr ต่อการต้านทานไพรีทรอยด์ที่เกิดขึ้นในประชากรยุง Cxr. quinquefasciatus ในประเทศไทย ซึ่งการตรวจติดตามความแปรผันของการเกิดการกลายพันธุ์ kdr และลักษณะความต้านทานที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการจัดการความต้านทานในยุง Cxr. Quinquefasciatus การคัดเลือกยุงรำคาญ Cxr. quinquefasciatus สายพันธุ์ห้องปฏิบัติการ Cq-CM and Cq-NiH ให้ต้านทานต่ออสารเดลต้าเมทริน ในห้องปฏิบัติการจำนวน 4 และ 5 รุ่น ตามลำดับ พบว่ายุงรำคาญสายพันธุ์ที่คัดเลือกให้ต้านทานต่อสารเคลต้าเมทริน Cq-CM-RF4 (รุ่นที่ 4) และ Cq-NiH-RFs (รุ่นที่ 5) มีระดับการต้านทานต่อสารเดลต้าเมทรินเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยมีอัตราการด้านทาน 316.2 เท่า และ 60 เท่าตามลำดับ จากนั้นเปรียบเทียบระดับการแสดงออกของยีนไซโตโครม พี450 8 ยีน คือ CYPACS2VI CYP4H34 CYP6AA7 CYP6P14 CYP9AL1 CYP9J34 CYP9J45 และ CYP9M10 ด้วยวิธี RT-quantitative real time PCR พบว่ายีน CYP9334 มีการแสดงออกที่เพิ่มสูงขึ้นในยุง Cq-CM-RF4 ขณะที่ยีน CYP6147 และ CYP6P14 มีการแสดงออกที่เพิ่มสูงขึ้นในระดับสูงในยุง Cq-NiH RF5 โดยระดับการแสดงออกที่เพิ่มสูงขึ้นของยีนไซโตโครม พี 450 ทั้ง 3 ยีนนี้เกี่ยวข้องอย่างมากกับระดับการต้านทานต่อสารเคมีที่มีค่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำกัญทางสถิติ ในยุง C9-CM-RF4 และ Cq-NiH-RFs เมื่อเทียบกับรุ่นพ่อแม่ ยีนไซโตโครม พี450 หลายยีนเป็นยีนที่มีการแสดงมากขึ้นในยุงที่ต้านทานต่อสารเคมี โดยผ่านทั้งกลไกการแสดงออกของยีนที่เพิ่มสูงขึ้น และกลไกการเหนี่ยวนำ ซึ่งจะเป็นการเพิ่มระดับการแสดงออกของยีนไซโตโครม พี450 โดยรวม | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600751012 เสาวนีย์ ชำนาญยา.pdf | 6.49 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.