Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79340
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Kriangkrai Thongkorn | - |
dc.contributor.advisor | Chavalit Boonyapakorn | - |
dc.contributor.advisor | Kannika Na Lampang | - |
dc.contributor.author | Kittidaj Tanongpitchayes | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-13T10:05:38Z | - |
dc.date.available | 2023-12-13T10:05:38Z | - |
dc.date.issued | 2022-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79340 | - |
dc.description.abstract | Periodontitis is the most common oral problem in geriatric and small-breed dogs. Pathological mandibular fracture after tooth extraction can occur in dogs with moderate to severe periodontitis as a result of extensive alveolar bone destruction. A nanohydroxyapatite-based hydrogel (HAP hydrogel) was developed to diminish the limitations of hydroxyapatite for post-extraction socket preservation (PSP). However, the effectiveness of HAP hydrogel for PSP has still not been evaluated. In addition, there are a few studies about PSP in periodontitis dogs. Consequently, the objective of this study is to assess the effectiveness of HAP hydrogel for PSP in dogs with periodontitis. Five dogs with periodontitis were done with unilateral 1st mandibular molar extraction. Ten sockets were placed with HAP hydrogel. After that, intraoral radiography was applied to follow up alveolar socket healing on the day of the operation, 2, 4, 8, and 12 weeks after the operation. The results after comparing the day of operation and the week of follow- ups using radiographic grading in Criteria A (p = 0.01, 0.02, 0.02 and 0.01) and Criteria B (p = 0.03, 0.02, 0.02 and 0.01), bone height measurement (p = 0.04, 0.04, 0.02 and 0.013), and bone regeneration analysis (p = 0.04, 0.01, 0.01 and 0.004) demonstrated that HAP hydrogel significantly enhanced socket healing at all follow-up times compared to the day of operation. Moreover, the distribution of apatite formation on the hydrogel surface after immersion under scanning electron microscopy with energy-dispersive X- ray spectroscopy showed a homogeneous. Our study suggests that HAP hydrogel can be applied as a bone substitute for PSP and has effectively enhanced socket regeneration in dogs with periodontitis. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Efficacy of Hydroxyapatite-based Hydrogel on Alveolar bone regeneration in post extraction socket of teeth in dogs | en_US |
dc.title.alternative | ประสิทธิภาพของไฮโดรเจลที่มีส่วนประกอบของไฮดรอกซีอะพาไทต์ต่อกระบวนการการสร้างใหม่ของกระดูกเบ้าฟันหลังการถอนฟันในสุนัข | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Dogs -- Surgery | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Teeth -- Extraction | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Periodontal disease | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โรคปริทันต์เป็นปัญหาของโรคในช่องปากที่มักพบได้บ่อยในสุนัขสูงวัยและสุนัขพันธุ์เล็ก ในกรณีที่สุนัขมีปัญหาโรคปริทันต์ในระยะปานกลางถึงรุนแรง อาจทำให้พบภาวการณ์หักของกระดูก ขากรรไกรล่างหลังการถอนฟัน อันเนื่องมาจากการที่โรคปริทันต์ก่อให้เกิดการเสื่อมสลายของกระดูก เบ้าฟันจำนวนมาก วัสดุไฮโครเจลที่มีส่วนประกอบของไฮครอกชีอะพาไทค์ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อลด ข้อจำกัดต่างๆ ของการใช้ไฮดรอกซีอะพาไทต์เพียงอย่างเดียวในกระบวนการอนุรักษ์กระดูกเบ้าฟัน ภายหลังการถอนฟัน แต่อย่างไรก็ตามยังไม่ได้มีการประเมินถึงประสิทธิภาพของวัสดุดังกล่าวต่อ กระบวนการอนุรักษ์กระดูกเบ้าฟันภายหลังการถอนฟันในสุนัข โดยฉพาะอย่างยิ่งในสุนัขที่มีปัญหา ของโรคปริ ทันต์ ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้คือเพื่อประเมินประสิทธิภาพของไฮโคร เจลที่มีส่วนประกอบของไฮครอกซีอะพาไทต์ต่อกระบวนการสร้างใหม่ของกระดูกเบ้าฟันหลังการ ถอนฟันในสุนัขที่มีปัญหาโรคปริทันต์ ในการศึกษาครั้งนี้สุนัขที่ป่วยด้วยโรคปริทันต์จำนวน 5 ตัวจะได้รับการถอนฟันกรามที่ ตำแหน่ง 309 หรือ 409 ของขากรรไกรล่าง หลังจากนั้นกระดูกเบ้าฟันจำนวน 10 เบ้าฟัน จะได้รับการ ใส่วัสดุดังกล่าว เพื่อศึกษากระบวนการสร้างใหม่ของกระดูกเบ้าฟัน หลังจากนั้นกระดูกเบ้าฟัน ทั้งหมดจะได้รับการถ่ายภาพรังสีภายในช่องปาก ณ วันที่ทำการผ่าตัด อาทิตย์ที่ 2 อาทิตย์ที่ 4 อาทิตย์ที่ 8 และอาทิตย์ที่ 12 ของการติดตามอาการหลังการผ่าตัด จากผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า เมื่อเปรียบเทียบคะแนนของภาพรังสีวินิจฉัยตามเกณฑ์ที่หนึ่ง ระหว่างสัปดาห์ที่ 1 เทียบกับสัปดาห์ที่ 2 4 8 และ 12 พบว่ามีค่านัยสำคัญทางสถิติ เท่ากับ 0.01 0.02 0.02 และ 0.01 ตามลำดับ ในขณะที่เกณฑ์ที่สองจะเท่ากับ 0.03 0.02 0.02 และ 0.01 ตามลำดับ นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบความสูงของกระดูกเบ้าฟันที่เจริญกับสัปดาห์ที่ติดตามอาการและ การเปลี่ยนแปลงของระดับความเข้มของเบ้าฟัน พบว่ามีต่างก็มีความแตกต่างกันในทุกสัปดาห์ เมื่อ เทียบกับสัปดาห์แรก โดยมี ค่านัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.04 0.04 0.02 กับ 0.013 และ 0.04 0.01 0.01 กับ 0.004 ตามลำดับ ซึ่งทุกวิธีการข้างต้นต่างบ่งชี้ว่า ไฮโดรเจลที่มีส่วนประกอบของไฮดรอกซีอะพา ไทต์สามารถช่วยเพิ่มกระบวนการสร้างใหม่ของกระดูกเบ้าฟันได้อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบ ระหว่างวันที่นัดติดตามกระบวนการหายเทียบกับวันที่ทำการผ่าตัด นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์การ กระจายของไฮดรอกซีอะพาไทต์บนผิวของไฮโดรเจลหลังการแช่ในสภาวะจำลองของเหลวใน ร่างกายภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่ามีการกระจายตัวที่สม่ำเสมอกัน ซึ่งทำได้ให้ข้อสรุปว่า ไฮโดรเจลที่มีส่วนประกอบของไฮดรอกซีอะพาไทต์มีแนวโน้มที่จะ สามารถนำมาใช้เป็นวัสดุทดแทนกระดูกในการอนุรักษ์กระดูกเบ้าฟันภายหลังการถอนฟัน และมี ประสิทธิภาพในการเพิ่มกระบวนการสร้างใหม่ของกระดูกเบ้าฟันของสุนัขที่มีปัญหาโรคปริทันต์ได้ | en_US |
Appears in Collections: | VET: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621435903 กฤฒิเดช ธนงค์พิชเญศ.pdf | 5.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.