Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79371
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Songyot Anuchapreeda | - |
dc.contributor.author | Natsima Viriyaadhammaa | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-01-04T10:16:27Z | - |
dc.date.available | 2024-01-04T10:16:27Z | - |
dc.date.issued | 2023-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79371 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to explore the potential of main compounds from Curcuma comosa Roxb. in leukemia treatment. The Diarylheptanoid 7-(3,4-dihydroxyphenyl)-5-hydroxy-1-phenyl-(1E)-1-heptene (compound 1 or DDHPH) was obtained after purification from ethyl acetate (F-EtOAc) fractional extract, while diarylheptanoid trans-1,7-diphenyl-5-hydroxy-1-heptene (compound 2 or DHH) was obtained after purification from hexane (F-Hex) fractional extract. Both compounds 1 and 2 exhibited strong cytotoxicity against various cancer cell lines, while remaining nontoxicity toward normal white blood cells. Additionally, compound 1 demonstrated notable antioxidant and anti-inflammatory properties. This study focused on proteins associated with cell proliferation and cell death. WT1 protein, a marker for leukemic cell proliferation, was significantly decreased after F-EtOAC and compound 1 treatments in a time- and dose-dependent manner. Moreover, compound 1 was found to induce NPM localization, resulting in the upregulation of p53 leading to cell cycle arrest and apoptosis. On the other hand, compound 2 demonstrated a drug modulator property, enhancing the efficacy of chemotherapeutic agents in drug-resistant cells. In conclusion, this study successfully purified the main active compounds from C. comosa Roxb., including compound 1 and compound 2. These two compounds could reduce cancer cell survival and safe for normal cells, indicating their potential as models for drug development. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Active Compounds from Curcuma Comosa Roxb. for Multidrug Resistance Reversal and Nucleophosmin Inhibitory Abilities in Drug Resistance Leukemic Cells | en_US |
dc.title.alternative | สารออกฤทธิ์จาก Curcuma comosa Roxb. ต่อความสามารถในการปรับเปลี่ยนการดื้อยาหลายขนานและการยับยั้งนิวคลีโอฟอสมินในเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวดื้อยา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Biochemistry | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Genetics | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Chemistry | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Pharmacology | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Toxicology | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Drug resistance | - |
thailis.controlvocab.thash | Leukemia | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | Curcuma comosa Roxb. หรือว่านชักมดลูก เป็นสมุนไพรแผนโบราณที่ใช้ในประเทศไทย โดยว่านชักมดลูกสามารถพบได้ในภาคเหนือและภาคใต้ของประเทศไทย โดยทั่วไปว่านชักมดลูกจะ ใช้ในการรักษาอาการปวดหรืออาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรอบเดือนในสตรี อย่างไรก็ตาม เนื่องจาก พืชในสกุล Curcuna นั้น ถูกคันพบว่ามีคุณสมบัติทางชีวภาพมากมาย ทำให้นักวิจัยสนใจในการศึกษา คุณสมบัติทางชีวกาพของพืชในสกุลนี้ รวมถึงว่านชักมดถูกด้วย จากการศึกษานี้ ส่วนเหง้าของพืชได้ ถูกรวบรวมและนำไปสกัดหยาบ หลังจากนั้นทำการสกัดสารออกฤทธิ์สำกัญจากสารสกัดหยาบ ดังกล่าวเพื่อให้ได้สารบริสุทธิ์ ด้วยวิธีคอลัมน์ โครมาโตกราฟฟี จากนั้นจึงทำการพิสูจน์เอกลักษณ์ ของสารด้วยเทคนิคนิวเคลียร์แมกเนติกเร โซแนนซ์และวัดการหมุนเชิงแสงของสารด้วยเครื่องโพลาริ- มิเตอร์ ในการศึกษานี้พบว่าสารบริสุทธิ์ที่แยก ได้จากสารสกัดหยาบแยกส่วนเอทิลอะซิเตท เป็นสาร ในกลุ่ม diarylheptanoids มีชื่อว่า diaryIheptanoid 7-(3,4-dihydroxypheny)-5-hydroxy-1-phenyl-(IE)-1-heptene (DDHPH) หรือ สารบริสุทธิ์หมายเลข 1 ส่วนสารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากสารสกัดหยาบแยก- ส่วนเฮกเซน เป็นสารบริสุทธิ์ที่มีชื่อว่า diaryIheptanoid trans-1,7-dipheny-5-hydroxy-I-heptene (DHH) หรือ สารบริสุทธิ์หมายเลข 2 โดยวัตถุประสงค์ในการศึกษานี้ เพื่อศึกษาสารสกัดหยาบแขก- ส่วนที่มีฤทธิ์ดีและสารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากสารสกัดหยาบแยกส่วนที่ออกฤทธิ์ดี จากว่านชักมดลูกต่อการขับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว ซึ่งมะเร็งเม็ดเลือดขาวเป็นโรคที่มีอัตราการ เสียชีวิตสูงและในปัจจุบันยังคงไม่ทราบสาเหตุในการเกิดโรค นอกจากนี้ในมะเร็งเม็ดเลือดขาวเมื่อ รักษาด้วยยาเศมีบำบัด เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวมักมีการดื้อต่อยาเคมีบำบัดบ่อยครั้ง ส่งผลให้การรักษา คนไข้ไม่มีประสิทธิภาพ และยังก่อให้เกิดอาการข้างเคียง เช่น เวียนหัว อาเจียน การกดการทำงานของ ไขกระดูก และอื่น ๆ ทำให้เป็นที่น่าสนใจศึกษาคุณสมบัติทางชีวภาพของพืชสมุนไพรมากขึ้น เนื่องจากเชื่อว่ามีผลข้างเคียงน้อยกว่ายาเมีบำบัด ในการศึกษานี้ได้ศึกษาผลของสารสกัดจากว่านชัก- มดลูกต่อโปรตีนเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการมีชีวิตของเซลล์มะเร็ง ประกอบไปด้วย วิล์มทูเมอร์วัน พี-ไกลโคโปรตีนและ นิวคดีโอฟอสมิส รวมถึงศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดต่อวัฏจักรเซลล์ และเหนี่ยวนำ ให้เกิดการตายแบบอะพอพโตซิส โดยศึกษาในเซลล์มะเร็งชนิด KG-1a (เซลล์ต้นกำเนิดมะเร็งเม็ด- เลือดขาว) K562 (เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ไม่ดื้อยา) และ K562/ADR (เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ดื้อ- ยา) จากการศึกษาพบว่าสารสกัดหยาบแยกส่วนเอทิลอะซิเตท สารสกัดหยาบแยกส่วนเฮกเซน สารบริสุทธิ์หมายเลข 1 และ สารบริสุทธิ์หมายเลข 2 มีฤทธิ์ในการลดการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง- เม็ดเลือดขาว (KG-1a. K562 และ HI-60) เซลล์มะเร็งเต้านม (MCF-7) และเซลล์มะเร็งปอด (A549) และยังพบว่าไม่มีความเป็นพิษกับเซลล์เม็ดเลือดขาวปกติ (เซลล์เม็ดเลือดขาวนิวเคลียสเดี่ยว) รวมถึง ไม่กระตุ้นให้เซลล์เม็ดเลือดแดงแตก สารบริสุทธิ์หมายเลข 1 พบว่ามีคุณสมบัติในการต้านสารอนุมูล-อิสระและต้านการอักเสบได้มากกว่สารบริสุทธิ์หมายเลข 2 นอกจากนี้ได้ศึกษากลไกของสารบริสุทธิ์ ที่มีผลต่อการขับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว โดยศึกษาโปรตีนวิล์มทูเมอร์วัน เนื่องจาก เป็น โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว ศึกษาโดยทำการวัคระดับ การแสดงออกของโปรตีนด้วยวิธีเวสเทิร์น บลอต หลังจากทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดต่อเซลล์ KG-1a ด้วยสารสกัดหยาบแยกส่วนเอทิลอะซิเตท และสารบริสุทธิ์หมายเลข 1 พบว่าสามารถลด การแสดงออกของโปรตีนวิล์มทูเมอร์วันได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยพบว่าสามารถลดระดับของ โปรตีนเป็นไปตามความเข้มข้นของสารและช่วงเวลาที่เพิ่มขึ้น นอกจากนั้นขังพบว่าสารสกัดหยาบ- แขกส่วนเอทิลอะซิเตท และสารบริสุทธิ์หมายเลข 1 สามารถขับยั้งวัฎจักรของเซลล์ได้ที่ระยะ S การทดลองนี้ชี้ให้เห็นว่าสารสกัดหยาบแขกส่วนเอทิลอะซิเตท และสารบริสุทธิ์หมายเลข 1 มี คุณสมบัติขับขับขั้งเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว เช่นเดียวกับยาเคมีบำบัด จากการศึกษาระดับโปรตีน พี-ไกลโคโปรตีน และ นิวคดีโอฟอสมิน หลังจากทำการทดสอบด้วยสารสกัดหยาบแยกส่วนเอทิลอะ- ซิเตท สารสกัดหยาบแขกส่วนเฮกเซน สารบริสุทธิ์หมายเลข 1 และ สารบริสุทธิ์หมายเลข 2 พบว่า ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงระดับการแสดงออกของโปรตีนทั้งสองได้ จึงได้ศึกษาการทำงานของโปรตีน นิวคดีโอ-ฟอสมินและพี-ไกลโคโปรตีน โดยโปรตีนนิวคดีโอฟอสมิน ได้ทำการตรวจหาตำแหน่งของโปรตีนในเซลล์ด้วยกล้องกอน โฟคอล เพื่อทราบถึงตำแหน่งของสารซึ่งสัมพันธ์กับการทำงาน ของโปรตีน จากการวิเคร าะห์ภาพถ่าย พบว่านิวคลีโอฟอสมินส่วนใหญ่เข้าไปอยู่ในนิวเคลียสของ เซลล์หลังจากทดสอบด้วยสารบริสุทธิ์หมายเลข 1 ชี้ให้เห็นว่าสารบริสุทธิ์หมายเลข 1 มีคุณสมบัติใน การเปลี่ยนแปลงการขนส่งของโปรตีนนิวคดีโอฟอสมิน และทำงานร่วมกับโปรตีนชนิดอื่นที่ เกี่ยวข้องกันภายในนิวเคลียส และเพื่อเป็นการสนับสนุนข้อสันนิษฐานนี้จึงได้ศึกษาโปรตีน พี 53 ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการชะลอวัฎจักรเซลล์ และโปรตีนคลีฟแคสเปส 3 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตายของ เซลล์แบบอะพอพโตซิส เนื่องจากในการศึกษาก่อนหน้าพบว่าโปรตีนทั้งสองทำงานร่วมกับโปรตีน นิวคดี โอฟอสมิน ผลการศึกษาพบว่าเมื่อทดสอบด้วยสารบริสุทธิ์หมายเลข 1 ตำแหน่งของโปรตีน นิวคดี โอฟอสมินจะถูกเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของโปรตีน พี 53 และคลีฟแคสเปส 3 ส่งผลให้เกิดการขับยั้งวัฏจักรของเซลล์ และเหนี่ยวนำให้เกิดการตายของเซลล์แบบอะพอพโตซิส ตามมา ส่วนของพี-ไกลโคโปรตีน ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงของระดับการแสดงออกของโปรตีนนั้น หลังจากทดสอบด้วยสารสกัดหยาบแยกส่วนเอทิลอะซิเตท สารสกัดหยาบแยกส่วนเฮกเซน สารบริสุทธิ์หมายเลข 1 และ สารบริสุทธิ์หมายเลข 2 ได้ศึกษาผลต่อการทำงานของพี-ไกลโคโปรตีน เนื่องจากหน้าที่หลักของพี่-ไกล โค โปรตีนคือการกำจัดยาออกจากเซลล์มะเร็ง การศึกษานี้ใช้ สารบริสุทธิ์หมายเลข 2 ในการศึกษา เนื่องจากพบว่าสารสารบริสุทธิ์หมายเลข 2 มีคุณสมบัติทำให้เซลล์มะเร็งตอบสนองต่อยาเคมีบำบัดดอกโซรูบิซินดีขึ้น เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ดื้อยา K562/ADR จากการทดสอบด้วยวิธี MIT พบว่าสารบริสุทธิ์หมายเลข 2 สามารถลดความเข้มขันของขาเคมีบำบัด ดอกโซรูบีซินจาก 51.6 uM เหลือ 18.2 uM ในการขับยั้งเซลล์ให้เหลือร้อยละ 50 จากผลการทคลอง ชี้ให้เห็นว่าสารบริสุทธิ์หมายเลข 2 เป็นสารที่มีคุณสมบัติในการปรับเปลี่ยนฟืโนไทการทำงานของ พี-ไกลโคโปรตีน นอกจากนี้ได้ศึกษาในส่วนของค่าพารามิเตอร์ทางเภสัชจลศาสตร์ของสารบริสุทธิ์- หมายเลข 2 ต่อการทำงานของพี-ไกลโคโปรตีน การศึกษานี้ใช้การวัดค่ความเข้มของแสงฟลูออเรส- เซนต์ที่เปล่งออกมาจากขาไพรารูบิซิน ซึ่งเป็นอนุพันธ์ของขาดอกโซรูบีซินผลการทดลองพบว่าสาร บริสุทธิ์หมายเลข 2 มีคุณสมบัติในการขับยั้งการขับยาออกของพี-ไกลโคโปรตีน ส่งผลให้ยาเคมีบำบัด สะสมอยู่ภายในเซลล์มากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่มีสารสารบริสุทธิ์หมายเลข 2 หลังจากนั้น ได้ทำการใช้กล้องฟลูออเรสเซนต์เพื่อทำการยืนยันด้วยภาพถ่ายของการสะสมของยาภายในเซลล์ นอกจากนี้ได้ทำการทดสอบเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มของเซลล์ที่ทคสอบด้วยยาอย่างเดียว และ กลุ่มของเซลล์ที่ทดสอบด้วยยาร่วมกับสารบริสุทธิ์หมายเลข 2 ในการเหนี่ยวนำให้เกิดการตายของ เซลล์แบบอะพอพโตซิส ผลการทคลองพบว่าเมื่อใช้ยาไพรารูบิชินร่วมกับสารบริสุทธิ์หมายเลข 2 กลุ่มของเซลล์ที่ตายแบบอะพอพโตซิสมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าสารบริสุทธิ์ทั้งสองชนิด เป็นสารจากสมุนไพร ไทยที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว ซึ่งเป็นการรายงานผลการวิจัยครั้งแรก โดยสารออกฤทธิ์ทั้งสองนี้มีคุณสมบัติสามารถใช้เป็นยาเคมี- บำบัดและใช้เป็นแนวทางในการพัฒนายาต่อไป โดยเฉพาะยาสำหรับโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว ซึ่งคุณสมบัติที่ โดดเด่นของสารออกฤทธิ์ทั้งสองคือไม่เหนี่ยวนำให้เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรงต่อเซลล์ ปกติเหมือนกับยาเคมีบำบัด | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601151002 Natsima Viriyaadhammaa.pdf | 2.67 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.