Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79426
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Tongkorn Meeyam | - |
dc.contributor.author | Kusnul, Yuli Maulana | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-02-07T01:27:42Z | - |
dc.date.available | 2024-02-07T01:27:42Z | - |
dc.date.issued | 2021-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79426 | - |
dc.description.abstract | Extended spectrum beta-lactamase (ESBL) E. coli has been emerged and considered as an antimicrobial resistant evidence among human, animal and environment. This study aims to detect the occurrence of ESBL-producing E. coli in dairy farms, and to survey knowledge, attitude and practice of antibiotics in dairy farms. During AugustNovember 2020, total samples were collected from 93 dairy farms with history of previous 6 month-antibiotic uses in Yogyakarta province, Indonesia. Extended spectrum betalactamase (ESBL) E. coli with Antimicrobial Susceptibility Test (AST) were identified using conventional method and Vitek-2. Knowledge, attitude and practice (KAP) were explored by interview and observation. Among 558 samples, 11% (59) were positive with ESBL-producing E. coli, consisting of 25% (23/93) feces, 16% (15/93) waste water, 10% (9/93) drinking water, 5% (5/93) feed, 4% (4/93) milk and 3% (3/93) hand rinsing, respectively. Presence of ESBL-producing E coli was identified 53.7% (50/93) in dairy farms. From 127 ESBL-producing E. coli isolates, majority were resistant to Trimethoprim/Sulfamethoxazole 74%, follows by Tetracycline 63% and Gentamicin 48%, respectively. Multidrug resistant (MDR) were found 50% (63/127). Knowledge on antibiotics of dairy farmer were found in mid-level, with the belief of “antibiotics should be prescribed by veterinarian only”. The hygienic practice such as wash hand and clean floor before milking” are the most common practice. In addition, veterinarians, paraveterinarian and drug store were also involved in treatment practice. There is no association between the KAP and occurrence of ESBL-Producing E. coli in dairy farms. In conclusion, the occurrence of ESBL-Producing E. coli was found in all types of samples in dairy farms in Yogyakarta province, Indonesia. In order to better understand the transmission, risk factors should be further studied in this area which could benefit the national AMR strategic plans. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Survey of extended spectrum beta-lactamase producing Escherichia coli in dairy farms in special region of Yogyakarta Province, Indonesia | en_US |
dc.title.alternative | การสำรวจเชื้อ Escherichia coli ที่ผลิตเอนไซม์บีตาแลคทาเมสชนิดฤทธิ์ ขยายในฟาร์มโคนมในเขตพิเศษของจังหวัดยอร์กยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Escherichia coli | - |
thailis.controlvocab.thash | Bacterial diseases in animals | - |
thailis.controlvocab.thash | iDairy farms -- Yogyakarta | - |
thailis.controlvocab.thash | Escherichia coli infections in animals | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การอุบัติใหม่ของเชื้อ Escherichia coi: ที่ผลิตเอนไซม์บีตาแลคทาเมสชนิคฤทธิขยาย (ESBL- producing E. col) เป็นหลักฐานของการดื้อต่อสารต้านจุถชีพที่พบได้ทั้งในมนุษข์ สัตว์ และสิ่งแวคล้อม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาเชื้อ ESBL-producing E. coli ในฟาร์มโคนม และเพื่อสำรวจความรู้ ทัศนะคติและการปฏิบัติของเกษตรกรโคนม ในเขตพิเศษของจังหวัดยอร์กยาการ์ตา ประเทศอินโดนี่เซีย จำนวนทั้งหมด 93 ฟาร์ม โดยเป็นฟาร์มที่มีประวัติการใช้ยาปฏิชีวนะภายใน 6เดือนที่ผ่านมา การเก็บตัวอย่างทั้งหมดดำเนินการในระหว่างเดือนสิงหาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน ปีพ.ศ. 2563 ตัวอย่างทั้งหมดจะถูกนำไปเพาะแยกเชื้อและตรวจหาความไวต่อสารต้านจุลชีพ ด้วยวิธีมาตรฐานและเครื่อง Vitek-2 การเก็บข้อมูลทางด้านความรู้ ทัศนะคติและการปฏิบัติของเกษตรกรโคนมจะใช้วิธีการสัมภายณ์และแบบสำรวจ ผลการศึกษาจากตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 558 ตัวอย่าง พบเชื้อ ESBL-producing E. coli 11% (59) โดยพบในตัวอย่างอุจจาระ25% (23/93 น้ำทิ้ง 16% (15/93) น้ำดื่ม 10% (9/93) อาหารสัตว์ 5% (5/93) นม 4% (4/93) และน้ำล้างมือ 3% (393) ซึ่งตรวจพบเชื้อนี้ในระดับฟาร์ม 53.7% (S0/93) การศึกษานี้สามารถตรวจแยกเชื้อ ESBL-producing E. coli ได้ทั้งหมดจำนวน 127 เชื้อ ซึ่งพบว่ามีการดื้อต่อ Trimcthoprin/Sulfamethoxazole 74% มากที่สุด และรองมาได้แก่ Tetracycline63% และ Gentamicin 48%ตามลำดับ เชื้อเหล่านี้มีการดื้อต่อสารปฏิชีวนะหลายกลุ่ม (MDR) 50% (63/127) นอกจากนี้พบว่าเกษตรกรฟาร์มโคนมมีความรู้ที่เกี่ยวข้องกับยาปฏิชีวนะอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความเชื่อว่ายาปฏิชีวนะด้องง่ายโดยสัตวแพทย์เท่านั้น การเข้าถึงยาเพื่อรักษาสัตว์จะเกี่ยวข้องกับสัตวแพทย์ นายสัตวแพทย์ หรือร้านขายยา และจากการสำรวจสุขลักษณะของเกษตรกรโคนมที่พบได้บ่อยที่สุด ได้แก่ การล้างมือและการทำความสะอาดพื้นก่อนการรีดนม ซึ่งจากปัจจัยทั้งทางด้านความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติ ไม่มีความสัมพันธ์กับการตรวจพบเชื้อ ESBL-producing E. coli ในทุกตัวอย่างอย่างมีนัขสำคัญดังนั้นการศึกษาถึงกระบวนการถ่ายทอดเชื้อดื้อยานี้ควรมีการศึกษาถึงปัจ จัยเสี่ยงอื่นๆที่อาจเกี่ยวข้องต่อไปเพื่อใช้ในการวางแผนกลยุทธ์สำหรับควบคุมเชื้อดื้อยาในระดับประเทศต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | VET: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621435801KUSNUL YULI MAULANA.pdf | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.