Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPhisamai Avakulpanichaya-
dc.contributor.advisorRongkorn Anantasan-
dc.contributor.advisorKorakot Jairak-
dc.contributor.authorUsuma Panpaisanen_US
dc.date.accessioned2024-06-21T09:57:43Z-
dc.date.available2024-06-21T09:57:43Z-
dc.date.issued2024-03-15-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79546-
dc.description.abstractThe acceptance of gender diversity in the family, the definition of my identity, and feelings of strangeness, concealment, and liberation—all these desires for self-identity, accumulated throughout a lifetime, are expressed through my artwork. These works depict gender identity hidden within my mind and the discomfort received from family members. This is the internal drive that I aim to express through my art. The inspiration for this work began with a physical transformation of myself, as part of my dissertation titled “Mixed Media Art Inspired by Gender Diversity under the Concept of ‘My World’.” It reflects my desire to free myself from the emotional constraints caused by the discomfort from my physical appearance. The artwork conveys my negative feelings and perspectives as someone with gender diversity, and aims to create interactive activities for viewers through my artwork, allowing them to engage with the concept from the perspective of someone who embodies gender diversity. The concept for creating my work is rooted in the desire to convey the emotional journey tied to my gender identity. It draws from my experience of feeling "alienated" in a female body, a gender I was born with, while having to "conceal" my desire to be male. This journey culminates in a sense of "liberation." By combining these three key emotions—alienation, concealment, and liberation—I develop the concept and creation of my artwork. I want to convey my personal story through mixed media art, creating concepts that reflect my feelings and negative attitudes as someone with gender diversity, particularly regarding acceptance within the family. This work aims to connect with the inner emotions and to create interactive experiences for the viewers to engage with this series. The goal is to support and reflect on the feelings toward gender-diverse groups in society. By creating mixed media art, I intend to support these concepts and respond to my own negative feelings and attitudes by sharing them publicly. The creative process is inspired by personal experiences, built from recorded stories and past physical transformations documented in a personal diary. By combining this information with deeply held negative emotions that have accumulated over time, I aim to create and present artworks that serve as a representation to give meaning and support to these concepts. These elements come together to form this body of artwork. The outcome after holding the exhibition showed that the artwork, presented and installed in a concrete manner, allowed both family and the public to sense the concealed desire to be male that was hidden within. This was expressed through gestures, sitting postures, and even being tied with ropes, which brought the hidden feelings out powerfully. The feeling of having to conceal this desire and the overwhelming need to be male were vividly portrayed in "Ai Beer," a large-scale piece that reflected the magnitude of my emotions. The desire to be male, confined within one's own body, creates an intense feeling of discomfort, forcing an individual to repress these desires within their mind. This restraint causes a transfer of emotions from the past to the present, ultimately forming a great sense of emotional turmoil. This turmoil is represented by a sculpture wrapped in canvas, which evokes a feeling of constriction and unease. The stitches sewn into the fabric reflect the emotional pain experienced during the creation process, as if each stitch represents a deep emotional wound in my heart. However, this feeling carried over to the “Beer Noi” artwork, which represents the desire for masculinity that wants to surface. This desire wasn’t recent but formed from the time in the womb, with a clear sense of the desire to be male from 1 to 9 months in gestation. Even though masculinity was seen as something foreign and had to be repressed, it eventually broke free from the constraints of the womb. This is depicted as a life-sized doll sculpture, symbolizing the journey from birth to this moment. The “World of Beer” work consists of a set of photographs from live performances and bound clothing pieces. They were displayed after the live performances, in line with the idea of “liberation” from past feelings. All of these works were exhibited together to accomplish the creative objectives mentioned earlier.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleMixed media art inspired by gender diversity under the concept of ‘my world "en_US
dc.title.alternativeศิลปะสื่อผสมที่ได้รับแรงบันดาลใจจากความหลากหลายทางเพศภายใต้แนวคิด “โลกของฉัน”en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshArts and design-
thailis.controlvocab.lcshGender Identity-
thailis.controlvocab.lcshGender identity in art-
thailis.controlvocab.lcshSex-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractความหลากหลายทางเพศกับการยอมรับในครอบครัว การนิยามตัวตนของข้าพเจ้าและความรู้สึกแปลกปลอม ปกปิด ปลดปล่อย ความปรารถนาในความเป็นตัวตนที่สั่งสมมาตลอดชีวิตด้วยแสดงออกถึงอัตลักษณ์ทางเพศที่ซ่อนภายในจิตใจ รวมถึงความอึดอัดที่ได้รับจากบุคคลในครอบครัวล้วนเป็นความรู้สึกและแรงขับภายในใจของข้าพเจ้าที่ต้องการแสดงออกผ่านผลงานศิลปะ ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของตนเองในหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ “ศิลปะสื่อผสมที่ได้รับแรงบันดาลใจจากความหลากหลายทางเพศภายใต้แนวคิด “โลกของฉัน” เพื่อต้องการปลดปล่อยตนเองจากพันธนาการทางความรู้สึกที่สร้างความอึดอัดจากสรีระรูปกายภายนอก ซึ่งสะท้อนถ่ายทอดความรู้สึกและทัศนคติเชิงลบของตนในฐานะผู้มีความหลากหลายทางเพศ (Gender Diversity) และเพื่อสร้างกิจกรรมให้ผู้ชมผลงานได้มีส่วนร่วมผ่านผลงานของตนในฐานะผู้มีความหลากหลายทางเพศ แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานได้ ความต้องการนำเสนอเรื่องราวความรู้สึกอันสื่อถึงอัตลักษณ์ทางเพศของข้าพเจ้านำเสนอจากประสบการณ์ของความรู้สึก “แปลกปลอม” ในเพศสรีระผู้หญิงที่ติดตัวมาแต่กำเนิด และต้อง “ปกปิด” ในความปรารถนาเป็นเพศชาย จนถึงกระทั่ง “ปลดปล่อย” โดยนำนิยามทั้ง 3 ความรู้สึกร่วมกันกำหนดแนวคิดและการสร้างสรรค์ผลงาน ข้าพเจ้าต้องการถ่ายทอดเรื่องราวของตนเองผ่านผลงานศิลปะสื่อผสมสร้างสรรค์แนวคิดที่สะท้อนความรู้สึกของตนเองและทัศนคติเชิงลบของตนในฐานะที่เป็นผู้มีความหลากหลายทางเพศกับการยอมรับของคนในครอบครัวเชื่อมโยงความรู้สึกที่มีภายในจิตใจรวมถึงสร้างกิจกรรมให้ผู้ชมผลงานได้มีส่วนร่วมผ่านผลงานชุดนี้ เพื่อสนับสนุนและทบทวนความรู้สึกที่มีต่อกลุ่มมีความหลากหลายทางเพศในสังคม การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสื่อผสมจะสนับสนุนแนวคิดและสนองต่อความรู้สึกและทัศนคติเชิงลบของข้าพเจ้าสู่สาธารณะ ในกระบวนการสร้างสรรค์มีที่มาและแนวคิดที่ประกอบขึ้นจากประสบการณ์ส่วนตนที่ได้ จดบันทึกเรื่องราว รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของสรีระร่างกายในอดีตผ่านไดอารี่ส่วนตัว โดยได้นำข้อมูลร่วมกับความรู้สึกเชิงลบที่อัดอั้นภายในจิตใจมาอย่างยาวนาน นำเสนอและสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะที่ประกอบสร้างขึ้นเพื่อร่วมกันทำหน้าที่เป็นตัวแทนในการสร้างความหมายและสนับสนุนแนวคิดดังกล่าวจนสร้างสรรค์เป็นงานศิลปะชุดนี้ขึ้น ผลสัมฤทธิ์หลังจากจัดนิทรรศการ ผลงานที่สร้างสรรค์นำเสนอและติดตั้งอย่างเป็นรูปธรรมเป็นสิ่งที่ให้ครอบครัวและสาธารณชนได้รับความรู้สึกรวมทั้งความปรารถนาที่ต้องการเป็นเพศชายที่ถูกปกปิดอยู่ภายในใจ ผ่านท่าทาง อากัปกิริยาการนั่ง ตลอดจนการถูกมัดด้วยเชือก ทำให้ความรู้สึกที่ต้องปกปิดสื่อสารออกมาอย่างมีพลังและความรู้สึกที่มีต่อความปรารถนาที่ต้องการเป็นชายนั้นก่อร่างสร้างตัวตนมากล้นจนยิ่งใหญ่ สะท้อนผ่านการสร้างสรรค์ ผลงาน “ไอ้เบียร์” ให้มีขนาดที่ใหญ่เสมือนความรู้สึกของข้าพเจ้า ความปรารถนาเป็นเพศชายถูกพันธนาการไว้ในร่างกายของตนนั้นเป็นความอึดอัดที่ต้องเก็บความปรารถนาของบุคคลหนึ่งไว้ภายในจิตใจ การพันธนาการนี้ได้สร้างการเปลี่ยนถ่ายความรู้สึกไปมาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน จนกลายเป็นความรู้สึกที่ยิ่งใหญ่ โดยสร้างเป็นประติมากรรมที่ห่อหุ้มด้วยผ้าแคนวาสที่ให้ความรู้สึกอึดอัดไม่สบายตัว ฝีเข็มที่เย็บทักทอจนเป็นผลงานสื่อถึงความรู้สึกขณะที่สร้างผลงานทั้งสิ้น การทิ่มแทงเสมือนสร้างรอยแผลในใจขนาดใหญ่ของข้าพเจ้าเอง อย่างไรก็ดีความรู้สึกดังกล่าวส่งต่อให้ผลงาน “เบียร์น้อย” เปรียบเสมือนความปรารถนาทางเพศชายที่มีอย่างชัดเจนนั้น ต้องการปรากฏขึ้น แต่กระนั้นเองไม่ได้พึ่งจะมีแต่เป็นการสร้างตัวตนตั้งแต่อยู่ในครรภ์ มีความรู้สึก ความปรารถนาที่เป็นเพศชายชัดเจนจากในครรภ์ตั้งแต่ 1-9 เดือน แม้ว่าความเป็นชายจะถูกมองว่าเป็นความแปลกปลอมที่ต้องเก็บกดไว้ จนกระทั่งหลุดพ้นจากครรภ์เปรียบเสมือนงาน ประติมากรรมตุ๊กตาหุ่นขนาดเท่าตนเองเป็นตัวแทนของการเดินทางในช่วงเวลาที่ต้องกำเนิดจนถึงผลงาน “โลกของเบียร์” เป็นชุดผลงานที่เป็นภาพถ่ายการแสดงสดและผลงานที่เป็นลักษณะของเสื้อที่พันธนาการ ได้ถูกจัดไว้หลังการแสดงสดจบตามแนวคิด “ปลดปล่อย” ออกจากความรู้สึกในอดีต โดยผลงานทั้งหมดนี้ได้ถูกจัดแสดงร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายของผลงานสร้างสรรค์ข้างต้นen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630351006-USUMA PANPAISAN.pdf31.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.