Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79578
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Bunpitcha Chitpakdee | - |
dc.contributor.author | เทพิน พัชระสุภา | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-26T01:50:53Z | - |
dc.date.available | 2024-06-26T01:50:53Z | - |
dc.date.issued | 2566-04-22 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79578 | - |
dc.description.abstract | Current health service system in Thailand has been adapted to the quality and expectations of clients. Modern organizational management, therefore, has changed this system management by using a learning process to step into a learning organization. The purpose of this research was to study learning organization as perceived by nurses and the problems and obstacles related to the development towards a learning organization of nurses in Somdejphrajaotaksin Maharaj Hospital. The sample included 176 registered nurses. The instrument was a learning organization questionnaire developed by Thipmonthien Pala (2015) based on Senge's conceptual framework (Senge, 2006). The reliability of the instrument was .93. Data were analyzed using descriptive statistics including average, standard deviation, and percentage, The results of the study found that: 1. The overall average score of learning organization as perceived by nurses was at a high level (x̅ = 3.98, SD = 0.57). Concerning each dimension of learning organization, the mean scores of Personal Mastery, Mental Model, Building a Share Vision, Team Learning, and Systems Thinking were at high levels (x̅ = 4.05, 4.03, 3.99, 4.02 and 3.82; SD = 0.56, 0.56, 0.56, 0.6 and 0.54, respectively) 2. Problems and obstacles in developing into a learning organization as perceived by nurses were: 1) personal characteristics of nurses including differences of opinion, perspective, age, and experience; 2) heavy workloads caused nurses stress and fatigue; 3) a lack of leadership from nurse administrators in organizational management; 4) organizational structure and support that frequently changed their goals; a lack of good communication within the organization caused confusion in achieving goals; and 5) the working environment in terms of the team organizational structure was unclear. Their opinions were not respected, and the computers in the nursing units were not adequate for searching data and knowledge. The results of this study can be used as basic information for nursing administrators to promote and develop nursing organizations to become learning organizations in the future. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | องค์กรแห่งการเรียนรู้ตามการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช | en_US |
dc.title.alternative | Learning organization as perceived by nurses in Somdejphrajaotaksin Maharaj hospital | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้องค์การ | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารองค์ความรู้ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ระบบบริการสุขภาพในประเทศไทยปัจจุบัน ได้มีการปรับตัวเพื่อคุณภาพและความคาดหวังของผู้รับบริการ การบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่จึงได้มีการบริหารการเปลี่ยนแปลงโดยใช้กระบวนการเรียนรู้เพื่อการก้าวเข้าสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์กรแห่งการเรียนรู้ตามการรับรู้ของพยาบาล และปัญหา อุปสรรคของการพัฒนาไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ของพยาบาล โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 176 คน เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาลที่พัฒนาโดย ทิพย์มณเทียร ปาละ (2558) ตามกรอบแนวคิดของเซ็งเก้ (Senge, 2006) มีค่า ความเชื่อมั่น เท่ากับ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าร้อยละ ผลการศึกษา พบว่า 1. องค์กรแห่งการเรียนรู้ตามการรับรู้ของพยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับสูง (x = 3.98, SD = 0.57) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ ด้านการมีแบบแผนความคิด ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และด้านการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับสูง (X = 4.05, 4.03, 3.99, 4.02 และ 3.82; SD = 0.56, 0.56, 0.56, 0.6 แล ะ 0.54 ตามลำดับ) 2. ปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ตามการรับรู้ของพยาบาล ได้แก่ 1) ลักษณะส่วนบุคคลของพยาบาล ได้แก่ ความแตกต่างกันด้านความคิดเห็นมุมมอง อายุและประสบการณ์ 2) ภาระงานของพยาบาลมากทำให้มีความเครียดความเหนื่อยล้ำ 3) ผู้บริหารทางการพยาบาลขาดกาวะผู้นำในการบริหารองค์กร 4) โครงสร้างและการสนับสนุนจากองค์กรมีปรับเปลี่ยนเป้าหมายบ่อยรวมถึงขาดการสื่อสารที่ดีภายในองค์กรทำให้สับสนในการบรรลุเป้าหมาย 5) สภาพแวดล้อมในการทำงานทั้งในค้านโครงสร้างหน้าที่ของทีมที่ไม่ชัดเจน การที่ความคิดเห็นไม่ถูกรับฟังและคอมพิวเตอร์ในหอผู้ป่วยไม่เพียงพอต่อการค้นคว้าข้อมูลความรู้ผผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหารทางการพยาบาลนำไปส่งเสริมและพัฒนาองค์กรพยาบาลให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601232013 เทพิน พัชระสุภา.pdf | 2.05 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.