Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79661
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | ธารณ์ ทองงอก | - |
dc.contributor.author | ทัชธชา ปัญญารัตน์ | en_US |
dc.contributor.author | Tatchtacha Panyarat | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-08T09:47:16Z | - |
dc.date.available | 2024-07-08T09:47:16Z | - |
dc.date.issued | 2024-05-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79661 | - |
dc.description.abstract | The aims of this research were 1) to study the current conditions, desirable condition and needs for curriculum administration focusing on student Learning outcomes in Lamphun municipal Schools. 2) to study on the curriculum administration where performs the best practice school and 3) to develop and examine the Guidelines for curriculum administration focusing on student learning outcomes in Lamphun municipal Schools. The process of this study has divided in 3 steps including was 14 school directors or deputy directors 116 teachers and 5 experts total 135 people. The research tools include questionnaires, structured interviews, meeting agendas and agendas form and checklists. The statistics used for data analysis include mean, standard deviation, frequency, Priority Need of Index, and inferential summary analysis. From the study, the needs of the curriculum administration focusing on student Learning outcomes in Lamphun municipal schools were respectively sorted descending order of needs as follows 1) creating curriculum development 2) curriculum management operations 3) improvement and development of curriculum management processes 4) action planning for curriculum implementation 5) school preparedness 6) supervision, guidance, monitoring and evaluation and lastly, 7) summary of operational results. The study on the curriculum administration where performs the best practice school has found school administrators and teachers collaborate to analyze the basic needs of students. This serves as crucial information for developing educational curricula to meet students' needs and enhance skills in each subject area. Additionally, it involves examining the educational context, emerging career trends, and opportunities for higher education. Furthermore, it considers the current and future labor market demands. The outcome on drafting the curriculum administration focusing on student Learning outcomes in Lamphun municipal schools has provided the frameworks which are 1) the principal 2) the objectives 3) the operational methods 4) the conditions of success. In the same vein, he auditing result of the guideline quality showed that the accuracy suitability and possibility was in the highest level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for curriculum administration focusing on student learning outcomes in Lamphun municipal schools | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การวางแผนหลักสูตร -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาปฐมวัย -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารการศึกษา -- ลำพูน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นการบริหารจัดการหลักสูตรที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองลำพูน 2) ศึกษาการบริหารจัดการหลักสูตรที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี และ 3) พัฒนาและตรวจสอบแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองลำพูน โดยแบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอน ตามวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้อํานวยการสถานศึกษา หรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 14 คน คณะครู จำนวน 116 คน และผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 135 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง วาระและแบบบันทึก การประชุม และแบบตรวจสอบ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่ เรียงลำดับ และการสังเคราะห์ประเด็นโดยสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการจำเป็นในการบริหารจัดการหลักสูตรที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองลำพูน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อเรียงลำดับจากมากไปน้อย พบว่า ลำดับแรก คือ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ลำดับที่ 2 การดำเนินการบริหารหลักสูตร ลำดับที่ 3 การปรับปรุงพัฒนากระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร ลำดับที่ 4 การวางแผนดำเนินการใช้หลักสูตร ลำดับที่ 5 การเตรียมความพร้อมสถานศึกษา ลำดับที่ 6 การนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล และลำดับสุดท้าย คือ การสรุปผล การดำเนินงาน ผลการศึกษาการบริหารจัดการหลักสูตรที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี พบว่า ผู้บริหารและคณะครูร่วมกันวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน สภาพบริบทและแนวโน้มอาชีพยุคใหม่และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบันและในอนาคตแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองลำพูนที่พัฒนาขึ้น มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) แนวปฏิบัติ และ4) เงื่อนไขความสำเร็จ มีผลการตรวจสอบ ความถูกต้อง ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ระดับมากที่สุด และผ่านเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ทุกด้าน | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232050 ทัชธชา ปัญญารัตน์.pdf | 18.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.