Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79686
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChatchawan Chaichana-
dc.contributor.authorHerath Mudiyanselage Senaka Bandaraen_US
dc.date.accessioned2024-07-09T11:11:30Z-
dc.date.available2024-07-09T11:11:30Z-
dc.date.issued2024-06-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79686-
dc.description.abstractThe rapid expansion of Thailand’s broiler chicken farming industry has raised concerns about its environmental impact, particularly greenhouse gas (GHG) emissions and waste management. This thesis investigates these issues, utilizing data from a sample of 15 broiler farms to estimate GHG emissions using the GHG Protocol’s Scope 1 and Scope 2 methodologies. Results indicate that broiler farms collectively emit 2.95 kt CO2eq/year, with Scope 1 emissions accounting for approximately 52% and Scope 2 emissions for 48% of the total. Additionally, this study pioneers the application of the Analytic Hierarchy Process (AHP) method to assess sustainable waste management strategies, providing valuable insights into decision-making processes in the industry. Criteria rankings, based on expert and farm owner preferences, revealed differing priorities, with experts assigning higher importance to environmental considerations (43.86%) compared to farm owners (17.32%). Conversely, farm owners prioritized economic criteria (59.87%) over environmental concerns (32.40%). Alternative rankings, reflecting differing stakeholder preferences, were also explored, with experts favouring gasification (46.92%) and farm owners preferring land application (50.31%). Policy recommendations emphasize the importance of comprehensive data collection, technology assessment, stakeholder engagement, and evidence-based policy development to advance sustainability in Thailand’s broiler chicken farming industry. This study contributes to the ongoing discourse on sustainable agriculture and lays the groundwork for future research and policy interventions.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAnalysis of support policy for greenhouse gas mitigation in broiler chicken farms a case study in Thailanden_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์นโยบายสนับสนุนสำหรับการจัดการก๊าซเรือนกระจกในฟาร์มเลี้ยงไก่เนื้อกรณีศึกษาประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshGreenhouse gas mitigation-
thailis.controlvocab.lcshChicken farms -- Energy consumption-
thailis.controlvocab.lcshChicken farms -- Thailand-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการขยายตัวอย่างรวดเร็วของอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่เนื้อในประเทศไทยได้ทำให้เกิดความกังวล เกี่ยวกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) และการจัดการขยะ วิทยานิพนธ์นี้ ได้จัดทำการสำรวจ ประเด็นข้างต้นเหล่านี้โดยใช้ข้อมูลจากตัวอย่างของฟาร์มไก่เนื้อ 15 แห่ง เพื่อประเมินปริมาณการปล่อย GHG โดยใช้วิธีการประเมิน GHG ด้วย Scope 1 และ Scope 2 ผลการวิจัยระบุว่าฟาร์มไก่เนื้อปล่อย GHG รวมกันประมาณ 2.55 kton CO2eq/ปี โดยจำแนกการปล่อยของ Scope 1 มีสัดส่วนการปล่อย GHG ประมาณ 60% และ Scope 2 มีสัดส่วนประมาณ 40% ของปริมาณรวมทั้งหมด นอกจากนี้ งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการริเริ่มนำ Analytic Hierarchy Process (AHP) มาประยุกต์ใช้ในการประเมินกลยุทธ์การจัดการขยะอย่างยั่งยืน ซึ่งช่วยให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่มีค่าสำหรับ กระบวนการตัดสินใจในภาคอุตสาหกรรม การจัดอันดับเกณฑ์พิจารณาจาก ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและเจ้าของฟาร์ม เผยให้เห็นลำดับความสำคัญที่แตกต่างกัน โดยความเห็นของผู้เชี่ยวชาญให้ความสำคัญกับการพิจารณาประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม (43.86%) มากกว่าเจ้าของฟาร์ม (17.32%) ในขณะที่เจ้าของฟาร์ม ให้ ความสำคัญกับเกณฑ์ทางเศรษฐกิจ (59.87%) มากกว่า ความกังวลด้านสิ่งแวดล้อม (32.40%) การศึกษา ยังได้สำรวจการจัดอันดับทางเลือกที่สะท้อนถึงความชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่แตกต่างกัน โดยผู้เชี่ยวชาญ นิยม วิธีการแก๊สซิฟิเคชัน (gasification) (46.92%) ในขณะที่เจ้าของฟาร์ม นิยมการนำไปใช้ประโยชน์หรือปรับปรุงบนที่ดิน (land application) (50.31%) งานวิจัยยังได้เสนอแนะเชิงนโยบาย เน้นย้ำความสำคัญของการเก็บข้อมูลอย่างครอบคลุม การประเมินเทคโนโลยี การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการพัฒนานโยบายบนฐานข้อมูลเพื่อยกระดับความยั่งยืนในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่เนื้อของประเททศไทยการวิจัยนี้มีส่วนช่วยในการอภิปรายต่อการเลี้ยงไก่เนื้ออย่างยั่งยืนและเป็นพื้นฐานสำหรับการวิจัยเชิงนโยบายในอนาคตen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650631084-HERATH MUDIYANSELAGE SENAKA BANDARA.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.