Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79939
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Ruth Sirisunyaluck | - |
dc.contributor.advisor | Juthathip Chalermphol | - |
dc.contributor.advisor | Sukit Kanjina | - |
dc.contributor.author | Anchalee Chitman | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-05T11:29:54Z | - |
dc.date.available | 2024-08-05T11:29:54Z | - |
dc.date.issued | 2024-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79939 | - |
dc.description.abstract | This research aims to explore the development process of agricultural learning activities in schools under the Chiang Mai Primary Education Area Office. It analyzed the extent of local community involvement and proposed ways to promote community participation in this development process. A mixed-method approach was employed, involving interviews with school administrators, teachers responsible for activities, and community representatives from the school board, totaling 615 participants (205 per group). The survey of the development process revealed that most agricultural activities focused on crop growing and animal husbandry. The average duration of these activities was six years, and schools had policies on agriculture, livelihoods, and life skills development aligned with NEDA’s four aspects. Approximately 51.2% of the sample schools reported high levels of success based on learner competency, morality, ethics, and responsibility, as well as achievements such as the Honest School, Moral School, and Model School for Curriculum Development awards. The study found substantial community participation in the development of school agricultural learning activities. Factors significantly influencing participation included the experience and opportunities of community representatives in development activities. The findings suggest guidelines to enhance community participation, including building good relationships with diverse ethnic groups, involving the public in organizing activities through co-thinking and decision-making, supporting and cooperating in control and monitoring, and fostering home-to-school and school-to-home interactions to promote community understanding of the school | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of agricultural learning activities by schools under the Chiang Mai primary educational service area offices | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้การเกษตรของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Agriculture -- Citizen participation | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Elementary schools -- Chiang Mai | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจกระบวนการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ วิเคราะห์ขอบเขตที่ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรของโรงเรียน และเสนอแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในกระบวนการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรของโรงเรียน ใช้วิธีการวิจัยแบบผสม ที่มีวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลจากผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม และตัวแทนชุมชนจากคณะกรรมการสถานศึกษา กลุ่มละ 205 ราย รวมทั้งสิ้น 615 ราย การสำรวจกระบวนการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ พบว่า การจัดกิจกรรมด้านการเกษตรส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืช/เลี้ยงสัตว์ โดยมีผู้รับผิดชอบ ได้แก่ ครูทุกในโรงเรียน ผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน และตัวแทนชุมชน เป็นหลัก ซึ่งมีระยะเวลาการจัดกิจกรรมด้านการเกษตรในโรงเรียนเฉลี่ย 6 ปี และทางโรงเรียนมีนโยบาย เกษตรวิถีชีวิต และการพัฒนาทักษะชีวิต โดยเน้นนโยบายให้สอดคล้องกับ สพฐ. (4 ด้าน) การวางเป้าหมายและความคาดหวัง เป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ และพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการจัดกิจกรรม พบว่าโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 51.2 ประสบผลสำเร็จในระดับมาก โดยดูได้จากเกิดสมรรถนะผู้เรียน คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบของผู้เรียน และความสามารถในการทำงาน ตลอดจนรางวัลที่ได้รับ เช่น โรงเรียนสุจริต, โรงเรียนคุณธรรม, โรงเรียนต้นแบบการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาขอบเขตของการมีส่วนร่วมของตัวแทนชุมชนในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรของโรงเรียน พบว่า โรงเรียนได้เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาในระดับมาก ตัวแทนชุมชนได้เข้ามาร่วมพัฒนาในระดับมาก เช่นกัน โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ประสบการณ์การเข้าร่วมการพัฒนากิจกรรมของตัวแทนชุมชน และการเปิดโอกาสให้เข้าร่วมการพัฒนากิจกรรมของตัวแทนชุมชน ผลการวิจัยเสนอได้ข้อเสนอแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในกระบวนการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรของโรงเรียน ดังนี้ การเชิญชวน และสร้างความสัมพันธ์ที่ดี (ความหลากหลายของชาติพันธุ์) การให้ประชาชนเข้ามาเกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรม โดยการร่วมคิดและตัดสินใจ สนับสนุนและร่วมดำเนินงาน ควบคุมตรวจสอบการดำเนินงานและการรับบริการและรับความช่วย การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบ้านสู่โรงเรียน และโรงเรียนสู่บ้าน การปฏิบัติที่ส่งเสริมความเข้าใจอันดีของชุมชนต่อโรงเรียน โดยดำเนินการตลอดเวลาทั้งในและนอกโรงเรียน | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610851017 Anchalee Chitman.pdf | DEVELOPMENT OF AGRICULTURAL LEARNING ACTIVITIES BY SCHOOLS UNDER THE CHIANG MAI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICES | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.