Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80019
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดรุณี นาพรหม-
dc.contributor.advisorฉันทลักษณ์ ติยายน-
dc.contributor.authorยศธร เพ็ชรทองen_US
dc.date.accessioned2024-09-03T10:22:11Z-
dc.date.available2024-09-03T10:22:11Z-
dc.date.issued2566-07-18-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80019-
dc.description.abstractThe effects of LED light and vernalization on growth and development, and hormonal changes in strawberry cv. Pharachatan 80 were studied. The research was divided into 2 experiments: Experiment 1 examination on the effects of LED lighting on runner production in the ‘Pharachatan 80’ strawberry, using a completely randomized designed (CRD) with 5 treatments and 5 replications (3 plants each) i.e., T1) natural light (control), T2), T3), T4), and T5) LED lighting periods 9, 12, 15, and 18 hours per day, respectively. Data were collected in term of strawberry plant growth, runner production, and daughter plants growth. The results indicated that the LED lighting periods 15 and 18 hours per day increased the number of petioles, leaf width, and chlorophyll content of strawberry plant compared to other treatments. Meanwhile, the LED lighting periods had no effect on the days to produce runners and leaf width, but 15 and 18 hours LED lighting periods increased the number of runners, daughter plants, petioles, and chlorophyll content compared to other treatments. On the other hand, natural light and 9 hours LED lighting period resulted in the highest strawberry plant and daughter plant height. Experiment 2 examination on the effects of LED lighting and vernalization on flowering and hormonal changes in the ‘Pharachatan 80’ strawberry. The experimental design was factorial in completely randomized design (factorial in CRD) with 2 factors. Factor 1) LED lighting 3 periods i.e., LED lighting periods 6, 9, and 12 hours per day. The second factor was 2 different temperature conditions, i.e., 1) non vernalization, 2) vernalized at 4°C for 2 weeks, compared to natural light (control) with 7 treatments and 5 replications (3 plants each). The results showed no interaction between the two factors. The LED lighting period 9 hour/day and vernalization led to faster flowering, greater number of flowers, and higher number of fruits significantly. These treatments also decrease auxin (IAA) accumulation in the shoot while promoting cytokinins (zeatin and zeatin riboside) biosynthesis and accumulation, ultimately promoting flower induction and flower development in the strawberry.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของแสงแอลอีดีและการให้อุณหภูมิต่ำต่อการเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80en_US
dc.title.alternativeEffects of LED light and vernalization on growth and development, hormonal changes in strawberry cv. Pharachatan 80en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสตรอว์เบอร์รี -- การเจริญเติบโต-
thailis.controlvocab.thashสตรอว์เบอร์รี -- การควบคุมคุณภาพ-
thailis.controlvocab.thashไดโอดเปล่งแสง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาผลของแสงแอลอีดีและการให้อุณหภูมิต่าต่อการเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80 แบ่งการทดลองออกเป็น 2 การทดลอง ได้แก่ การทดลองที่ 1 การศึกษาผลของแสงแอลอีดีที่เหมาะสมต่อการผลิตต้นไหลของสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 5 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 3 ต้น ให้พืชได้รับจำนวนชั่วโมงการให้แสงแอลอีดีที่แตกต่างกัน ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 ให้แสงจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติ (กรรมวิธีควบคุม) ส่วนกรรมวิธีที่ 2, 3, 4 และ 5 ให้แสงแอลอีดี 9, 12, 15 และ 18 ชั่วโมง/วัน ตามลำดับ โดยเก็บข้อมูลการเติบโตของต้นแม่สตรอว์เบอร์รี การผลิตไหล และการเติบโตของต้นไหล ผลการทดลองพบว่า การให้แสงแอลอีดีจำนวนชั่วโมง 15 และ 18 ชั่วโมง/วัน ทำให้ต้นแม่สตรอว์เบอร์รีมีจำนวนก้านใบ ความกว้างใบ และค่าคลอโรฟิลล์ในใบสูงกว่าทุกกรรมวิธีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะเดียวกันพบว่าทุกระยะเวลาการให้แสงแอลอีดีไม่มีผลต่อระยะเวลาในการเกิดไหลและความกว้างใบของต้นไหล แต่กรรมวิธีที่ให้แสงแอลอีดี 15 และ 18 ชั่วโมง/วัน ทำให้จำนวนเส้นไหล ต้นไหล ก้านใบ และค่าคลอโรฟิลล์ในใบของต้นไหลสูงกว่าทุกกรรมวิธีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะเดียวกันการให้แสงจากธรรมชาติ และแสงแอลอีดี 9 ชั่วโมง/วัน ทำให้ต้นแม่สตรอว์เบอร์รีและต้นไหลมีความสูงมากที่สุดการทดลองที่ 2 การศึกษาผลของจำนวนชั่วโมงแสงแอลอีดีและการให้อุณหภูมิต่ำต่อการออกดอกและการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนของสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80 วางแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียลในสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยที่ 1 ระยะเวลาให้แสงแอลอีดี 3 วิธี ได้แก่ การให้แสงแอลอีดีที่จำนวน 6, 9 และ 12 ชั่วโมง/วัน ร่วมกับปัจจัยที่ 2 การให้สภาพอุณหภูมิต่างกัน 2 วิธี ได้แก่ 1) การไม่กระตุ้นตาดอกด้วยอุณหภูมิต่ำ (non vernalized) และ 2) การกระตุ้นตาดอกด้วยอุณหภูมิต่ำ (vernalized) เปรียบเทียบกับการปลูกโดยสภาพแวดล้อมธรรมชาติ (กรรมวิธีควบคุม) จำนวน 7 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 3 ต้น ผลการทดลองพบว่าทั้งสองปัจจัยไม่มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันของทุกผลการทดลอง โดยกรรมวิธีที่ให้แสงแอลอีดี 9 ชั่วโมง/วัน และการกระตุ้นตาดอกด้ว อุณหภูมิต่ำทำให้ต้นสตรอว์เบอร์รีออกดอกเร็วขึ้น มีจำนวนดอกและจำนวนผลมากกว่าทุกกรรมวิธีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยกรรมวิธีดังกล่าวมีผลต่อการลดปริมาณฮอร์โมนออกซิน (IAA) ในขณะเดียวกันส่งเสริมการสร้างฮอร์โมนไซโทไคนิน (zeatin และ zeatin riboside) ในบริเวณยอดของพืชซึ่งสามารถทำให้เกิดการชักนำการออกดอกและการพัฒนาดอกของต้นสตรอว์เบอร์รีได้en_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610831076-ยศธร เพ็ชรทอง.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.