Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพล แจ้งอักษร-
dc.contributor.advisorเกียรติสุดา ศรีสุข-
dc.contributor.authorไทเลิง คำพาพงผ่านen_US
dc.date.accessioned2024-09-19T10:38:48Z-
dc.date.available2024-09-19T10:38:48Z-
dc.date.issued2024-09-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80048-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) analyze and compare the level of achievement in the teaching profession by background; 2) develop and examine the validity of a causal model of achievement in the teaching profession; and 3) analyze the transmission characteristics of achievement motivation, self-efficacy, and professional commitment variables in a causal model of achievement in the teaching profession. The sample group consisted of 700 teachers from the Lao PDR Teachers' College, selected using proportionate stratified sampling. The research instrument was a teacher questionnaire, which had Cronbach’s alpha coefficient reliability between 0.601 and 0.934 and had construct validity from the results of the confirmation factor analysis. The data were analyzed using basic statistical analysis, one-way ANOVA, Pearson's product-moment correlation coefficient, and structural equation modeling using Mplus 7.4 The research results can be summarized as follows: 1) The research results found that teachers had a high level of professional success, with a value equal to (X ̅ = 4.207, S. D= 0.358). When comparing professional success classified by background factors, the results showed that teachers with different genders, ages, marital status, and work experiences had statistically significant differences in their professional success. 2) The causal model of teacher career success consisted of mediating variables: achievement motivation, self-efficacy, and professional commitment. The analysis results showed a good fit with the empirical data, with goodness-of-fit index values: χ² = 290.109 (df = 143, p < .001), CFI = 0.973, TLI = 0.961, SRMR = 0.035, RMSEA = 0.038, which were within the acceptable range according to Hu and Bentler (1999). The model explained 65 percent of the variance in teacher career success. 3) The achievement motivation variable, professional self-efficacy perception played a complete mediator role from the five-factor personality variables to teaching career success, and the professional commitment variable played a partial mediator role from the professional self-efficacy perception variable to teaching career success variables.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleโมเดลเชิงสาเหตุของความสำเร็จในวิชาชีพครูที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์การรับรู้ความสามารถของตนเองและความผูกพันในวิชาชีพเป็นตัวแปรส่งผ่าน : กรณีศึกษาวิทยาลัยครูสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.title.alternativeA Causal model of teacher profession success with achievement motivation, self-efficacy and professional engagement as mediating variable: A Case study of teacher training colleges Lao people’s democratic republicen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashครู -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashความสำเร็จ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ: 1) วิเคราะห์ และเปรียบเทียบระดับความสำเร็จในวิชาชีพครูเมื่อจำแนกตามภูมิหลัง 2) พัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุของความสำเร็จในวิชาชีพครู และ 3) วิเคราะห์ลักษณะการส่งผ่านของตัวแปรแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การรับรู้ความสามารถของตนเองในวิชาชีพ และความผูกพันในวิชาชีพในโมเดลเชิงสาเหตุของความสำเร็จในวิชาชีพครู ตัวอย่างวิจัยคือครูวิทยาลัยครู สปป.ลาว จำนวน 700 คน ได้มาจากใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน (Proportionate Stratified Sampling) เครื่องมือในการวิจัยคือแบบสอบถามสำหรับครู ซึ่งมีค่าความเที่ยงแบบสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบาคอยู่ระหว่าง 0.601 - 0.934 และมีความตรงเชิงโครงสร้างจากผลการตรวจสอบโดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ค่าสถิติเบื้องต้น การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างโดยใช้โปรแกรม Mplus 7.4 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้: 1) ผลการวิจัยพบว่า ครูมีความสำเร็จในวิชาชีพอยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเท่ากับ (X ̅= 4.207, S. D= 0.358) เมื่อทำการเปรียบเทียบความสำเร็จในวิชาชีพโดยจำแนกตามปัจจัยภูมิหลัง ผลปรากฏว่า ครูที่มีเพศ อายุ สถานภาพสมรส และประสบการณ์การทำงาน ที่ต่างกันแตกต่างกัน ประสบความสำเร็จในวิชาชีพครู แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) โมเดลเชิงสาเหตุของความสำเร็จในวิชาชีพครูประกอบด้วยตัวแปรส่งผ่าน: แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และความผูกพันในวิชาชีพ ผลวิเคราะห์แสดงความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีความกลมกลืน: χ² = 290.109 (df = 143, p < .001), CFI = 0.973, TLI = 0.961, SRMR = 0.035, RMSEA = 0.038 โมเดลอธิบายความแปรปรวนของความสำเร็จในวิชาชีพครูได้ร้อยละ 65 3) ตัวแปรแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การรับรู้ความสามารถของตนเองในวิชาชีพมีบทบาทส่งผ่านแบบสมบูรณ์ (Complete Mediator) จากตัวแปรบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบไปยังความสำเร็จในวิชาชีพครู และตัวแปรความผูกพันในวิชาชีพมีบทบาทการส่งผ่านแบบบางส่วน (Partial Mediator) จากตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเองในวิชาชีพไปยังตัวแปรความสำเร็จในวิชาชีพครูen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650231016 THAYLEUNG KHAMPHAPHONGPHAN.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.