Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80050
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Budsara Limnirankul | - |
dc.contributor.advisor | Ruth Sirisunyaluck | - |
dc.contributor.advisor | Sukit Kanjina | - |
dc.contributor.advisor | Prathanthip Kramol | - |
dc.contributor.advisor | Le Thi Hoa Sen | - |
dc.contributor.author | Tran Cao Uy | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-23T00:41:36Z | - |
dc.date.available | 2024-09-23T00:41:36Z | - |
dc.date.issued | 2024-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80050 | - |
dc.description.abstract | The adoption of digital technology among smallholder farmers in developing nations has significant potential to advance agricultural development. This study aims to achieve four primary objectives: 1) to identify the digital technologies adopted by smallholder farmers; 2) to investigate the factors influencing the adoption of digital technologies among smallholder farmers; 3) to assess the outcomes of digital technology adoption on farmers’ livelihoods; and 4) to offer policy recommendations to promote the adoption of digital technologies in agriculture for smallholders. The study employed a survey research design as the main approach to collect data. A total of 455 smallholder households were estimated to be selected from the around 46,000 farm households in the province by using the Yamane formula (1967), with a sampling error of 5%. A snowball sampling technique was employed to select smallholders for interviews. Data was also gathered from secondary sources and key informant interviews to provide valuable insights into the adoption of digital technologies among smallholder farmers in Quang Tri province. The analysis involved the use of descriptive statistics, inferential statistics, factor analysis, and Poisson regression to provide comprehensive insights into the research objectives. The adoption of digital technologies among smallholder farmers in Quang Tri Province, Vietnam, presents significant potential for enhancing agricultural productivity and improving livelihoods. The research revealed that almost 100% of farmers owned smartphones and internet connectivity, and approximately 80% had internet-enabled televisions, indicating a strong foundation for digital engagement. Digital application adoption rates were balanced, with a preference for multidirectional platforms like Facebook and YouTube, adopted by over 80% of farmers. Weather forecast apps and app calls were also popular, while Zalo, messaging apps, web browsers, and online shopping apps had lower adoption rates. Adoption rates varied significantly among different demographics, with higher rates among aquaculture and livestock-based farmers, younger and better-educated farmers, and male farmers. The frequency of digital platform usage was relatively low, with weather forecast apps used most frequently, nearly 6 times per week. Other applications were used less than 4 times per week on average, with online shopping having the lowest utilization. Significant differences in usage frequency were observed among farmer groups stratified by education level. Farmers primarily adopted digital applications for acquiring farming knowledge and accessing weather information. Significant numbers of farmers used digital platforms for selling products, checking prices, and buying inputs, while fewer engaged in exchanging farming experience, post-harvest advisories, and financial activities. Digital adoption purposes of smallholder farmers were classified into 5 groups, including: “Price Information & Inputs Procurement”, “Farm Product Marketing & Sales”, “Financial Assistance & Farm Services”, “Farming Knowledge & Experience Exchange”, and Weather Information & Other Services. Among fourteen exploratory variables, ten were found to be statistically significant in influencing digital technology adoption. Positive factors included education, farm size, digital experience, internet cost, accessibility of digital-related information, frequency of knowledge exchange, and participation in farmer organizations. Negative factors included farmer age, trust in shared experiences, and crop farm type. The adoption of digital tools led to significant positive changes in farmers’ livelihood capitals, particularly in human and social capital. Improvements included better access to weather forecasts, increased agricultural education, enhanced access to farm advisory information, easier contact and information exchange with other farmers, expanded social networks, and more frequent interactions with input providers, traders, and consumers. Changes in other capitals were less pronounced, with the least change observed in natural capital. Statistically significant differences in livelihood capital changes were found among farmers of different farm types and education levels. To encourage digital technology adoption, four policy recommendations are proposed: strengthening digital extension services, enhancing training programs, leveraging existing farmer cooperatives, and supporting young, educated farmers as leaders in digital adoption. In conclusion, these findings highlight the need for requires coordinated efforts from all stakeholders to enhance digital adoption among smallholder farmers. Farmers should actively use existing digital technologies and engage in training programs to maximize their benefits. Farmer organizations need to facilitate peer learning and collaborate with tech providers for tailored support. Extension agencies must build staff capacity and partner with technology firms to offer relevant training and digital solutions. Managers and policymakers should integrate these recommendations into policy frameworks, and foster public-private partnerships to create an environment conducive to digital adoption. These strategic actions will empower farmers and contribute to their sustainable livelihood development. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Smallholder | en_US |
dc.subject | Livelihood | en_US |
dc.subject | Livelihood outcomes | en_US |
dc.subject | Sustainable livelihood | en_US |
dc.subject | Technology adoption | en_US |
dc.title | Smallholder farmers’ adoption of digital technologies in agriculture for sustainable livelihood development in Quang Tri Province, Vietnam | en_US |
dc.title.alternative | การยอมรับเทคโนโลยีการเกษตรดิจิทัลของเกษตรกรรายย่อย สู่การพัฒนาวิถีชีวิตที่ยังยืนในจังหวัดควางทรี เวียดนาม | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Farmers -- Vietnam | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Agriculture -- Vietnam | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Agriculture -- Technology transfer -- Vietnam | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในหมู่เกษตรกรรายย่อยในประเทศกำลังพัฒนามีศักยภาพสำคัญในการพัฒนาภาคเกษตรกรรม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลัก 4 ข้อดังนี้ (1) เพื่อระบุเทคโนโลยีดิจิทัลที่เกษตรกรรายย่อยนำมาใช้ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในหมู่เกษตรกรรายย่อย (3) เพื่อประเมินผลลัพธ์ของการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ต่อการดำรงชีวิตของเกษตรกร และ (4) เพื่อเสนอข้อแนะนำเชิงนโยบายในการส่งเสริมการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในภาคเกษตรกรรมสำหรับเกษตรกรรายย่อย การศึกษาใช้การออกแบบการวิจัยแบบสำรวจเป็นแนวทางหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูล คาดว่าจะมีการเลือกครัวเรือนเกษตรกรรายย่อยทั้งหมด 455 ครัวเรือน จากครัวเรือนเกษตรกรประมาณ 46,000 ครัวเรือนในจังหวัด โดยใช้สูตรยามาเนะ (Yamane formula) (1967) ที่มีความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง 5% เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ถูกนำมาใช้เพื่อเลือกเกษตรกรรายย่อยสำหรับการสัมภาษณ์ ข้อมูลยังถูกรวบรวมจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิและการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในกลุ่มเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดกว๋างตรี การวิเคราะห์ใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน การวิเคราะห์ปัจจัย และการถดถอยแบบปัวสัน (Poisson regression) เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการวิจัย การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในหมู่เกษตรกรรายย่อยในจังหวัดกว๋างตรี ประเทศเวียดนาม มีศักยภาพค่อนข้างมากในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและปรับปรุงการดำรงชีวิตของเกษตรกร การวิจัยพบว่าร้อยละ 100 ของเกษตรกรเป็นเจ้าของสมาร์ทโฟนและมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และประมาณร้อยละ 80 มีโทรทัศน์ที่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งชี้ให้เห็นพื้นฐานที่เข้มแข็งด้านการใช้ดิจิทัลอัตราการนำแอปพลิเคชันดิจิทัลมาใช้มีความสมดุลกัน โดยเกษตรกรมีความนิยมในแพลตฟอร์มที่มีการสื่อสารหลายทิศทาง เช่น Facebook และ YouTube ซึ่งมีผู้ใช้มากกว่าร้อยละ 80 แอปพลิเคชั้นด้านการพยากรณ์อากาศและการโทรศัพท์ผ่านแอปพลิเครชัน เป็นที่นิยมเช่นกัน ในขณะที่ Zalo แอปพลิเคชันที่ใช้ส่งข้อความ เว็บเบราว์เซอร์ และแอปพลิเคชันช้อปปิ้งออนไลน์ มีอัตราการใช้งานที่ต่ำกว่า ซึ่งพบว่าอัตราการใช้งานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่มประชากรต่าง ๆ โดยมีอัตราที่สูงกว่าในกลุ่มเกษตรกรที่ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและ ปศุสัตว์ เป็นเกษตรกรอายุน้อยและมีระดับการศึกษาดีกว่ากลุ่มการผลิตอื่น และเป็นเกษตรกรเพศชาย พบว่าความถี่ในการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลค่อนข้างต่ำ โดยแอปพลิเคชันด้านพยากรณ์อากาศถูกใช้บ่อยที่สุดเกือบ 6 ครั้งต่อสัปดาห์ ส่วนแอปพลิเคชันชนิดอื่นโดยเฉลี่ย ถูกใช้น้อยกว่า 4 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยการช้อปปิ้งออนไลน์มีการใช้งานน้อยที่สุด ยังพบความแตกต่างที่มีนัยสำคัญในความถี่ในการใช้งานพบในกลุ่มเกษตรกรที่แบ่งตามระดับการศึกษา เกษตรกรมีการนำแอปพลิเคชันดิจิทัลมาใช้เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรและเข้าถึงข้อมูลสภาพอากาศเป็นหลัก เกษตรกรจำนวนมากใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลในการขายสินค้า ตรวจสอบราคา และซื้อปัจจัยการผลิต ในขณะที่มีเกษตรกรส่วนน้อยที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการเกษตร คำแนะนำหลังการเก็บเกี่ยว และกิจกรรมทางการเงิน วัตถุประสงค์การนำดิจิทัลมาใช้ของเกษตรกรรายย่อยถูกจัดกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ 1) ข้อมูลราคาและการจัดหาปัจจัยการผลิต 2) การตลาดและการขายผลิตภัณฑ์เกษตร 3) การสนับสนุนทางการเงินและบริการเกษตร 4) การแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร และ 5) ข้อมูลสภาพอากาศและบริการด้านอื่น ส่วนตัวแปรที่สำรวจทั้งหมด 14 ตัวแปร พบว่ามี 10 ตัวแปรมีระดับความสำคัญทางสถิติ โดยมีอิทธิพลต่อการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ที่เป็นปัจจัยบวก ได้แก่ การศึกษา ขนาดฟาร์ม ประสบการณ์ดิจิทัล ค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ต ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับดิจิทัล ความถี่ในการแลกเปลี่ยนความรู้ และการเข้าร่วมในองค์กรเกษตรกร ส่วนปัจจัยลบ ได้แก่ อายุของเกษตรกร ความเชื่อมั่นในประสบการณ์ที่แบ่งปัน และประเภทของฟาร์มพืช นอกจากนี้ยังพบว่า การนำเครื่องมือดิจิทัลมาใช้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญในทุนการดำรงชีวิตของเกษตรกร โดยเฉพาะทุนมนุษย์และทุนทางสังคม การปรับปรุงรวมถึงการเข้าถึงการนำใช้พยากรณ์อากาศที่ดีขึ้น การศึกษาเกษตรกรรมที่เพิ่มขึ้น การเข้าถึงข้อมูลคำแนะนำด้านการเกษตรที่ดีขึ้น การติดต่อและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเกษตรกรคนอื่น ๆ ที่ง่ายขึ้น การขยายเครือข่ายสังคม และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้จัดหาปัจจัยการผลิต ผู้ค้า และผู้บริโภคบ่อยขึ้น ส่วนการเปลี่ยนแปลงในทุนการดำรงชีพด้านอื่นนั้นไม่เด่นชัด โดยพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงทุนธรรมชาติน้อยที่สุด ส่วนด้านความแตกต่างที่มีนัยสำคัญทางสถิติในทุนการดำรงชีวิตพบในกลุ่มเกษตรกรประเภทต่างๆ และระดับการศึกษา งานวิจัยนี้ได้มีข้อเสนอแนะด้านนโยบาย เพื่อส่งเสริมการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ 4 ข้อ ได้แก่ 1) การเสริมสร้างบริการส่งเสริมการเกษตรทางดิจิทัล 2) การปรับปรุงโปรแกรมการฝึกอบรม 3) การใช้ประโยชน์จากสหกรณ์เกษตรกรที่มีอยู่ และ 4) การสนับสนุนเกษตรกรที่มีการศึกษาดีในฐานะผู้นำในการนำดิจิทัลมาใช้ กล่าวโดยสรุป ข้อค้นพบเหล่านี้ได้เน้นให้ความจำเป็นในการประสานเครือข่ายจากทุกภาคส่วนเพื่อสามารถเพิ่มการนำดิจิทัลมาใช้ในกลุ่มเกษตรกรรายย่อย เกษตรกรควรใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่และเข้าร่วมโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด นอกจากนี้องค์กรที่ส่วนเกี่ยวข้องด้านเกษตรกรต้องอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้จากเพื่อนร่วมงานและร่วมมือกับผู้ให้บริการเทคโนโลยีเพื่อให้การสนับสนุนที่เหมาะสม หน่วยงานส่งเสริมการเกษตรต้องสร้างศักยภาพของบุคลากรและร่วมมือกับบริษัทเทคโนโลยีเพื่อเสนอการฝึกอบรมและโซลูชั่นดิจิทัลที่เกี่ยวข้อง ผู้จัดการและผู้กำหนดนโยบายควรบูรณาการข้อเสนอแนะนี้เข้าภายใต้กรอบนโยบาย และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการนำดิจิทัลมาใช้ การดำเนินการเชิงกลยุทธ์เหล่านี้จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของเกษตรกร และมีส่วนช่วยในการพัฒนาที่ยั่งยืนของการดำรงชีวิตของเกษตรกร | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630851016_Tran Cao Uy.pdf | 3.13 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.