Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนที สุริยานนท์-
dc.contributor.authorณัฐวัฒน์ บุญแสงen_US
dc.date.accessioned2024-11-28T18:44:42Z-
dc.date.available2024-11-28T18:44:42Z-
dc.date.issued2567-11-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80277-
dc.description.abstractThis research aims to evaluate and analyze the carbon footprint of J.S. Union Construction Partnership Limited, a pile driving contractor operating in Northern Thailand. The study covers the period from January 1, 2022, to December 31, 2022, following the carbon footprint assessment guidelines established by the Thailand Greenhouse Gas Management Organization (TGO). The analysis includes three scopes: Scope 1 – direct greenhouse gas emissions from the organization’s activities, Scope 2 – indirect emissions from energy consumption, and Scope 3 – indirect emissions from other sources associated with the organization’s operations. The study found that the total greenhouse gas emissions of the organization amounted to 885.5311 tons of carbon dioxide equivalent per year.The majority of the organization’s greenhouse gas emissions come from Scope 3 activities, accounting for 92.44% of total emissions, equivalent to 818.5559 tons of CO₂ equivalent per year. These Scope 3 activities include the purchase of raw materials, transportation, and waste disposal. Scope 1, which covers direct emissions from fuel combustion in machinery and vehicles, accounts for 64.0888 tons of CO₂ equivalent per year, representing 7.24% of the total emissions. Scope 2, involving indirect emissions from electricity usage, accounts for 2.8864 tons of CO₂ equivalent per year or 0.32% of total emissions. The analysis suggests that the organization should focus on reducing emissions from Scope 3, as it contributes the most to the overall carbon footprint. Additionally, reducing fuel consumption in Scope 1 and improving energy efficiency in Scope 2 can further decrease total emissions. The study provides valuable insights for the organization to develop effective carbon footprint management strategies, supporting long-term environmental sustainability and reducing overall greenhouse gas emissions.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคาร์บอนฟุตพริ้นท์en_US
dc.subjectก๊าซเรือนกระจกen_US
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าen_US
dc.subjectการก่อสร้างen_US
dc.subjectเสาเข็มเจาะen_US
dc.titleการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร: กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจ.เอส.ยูเนี่ยน คอนสตรัคชั่นen_US
dc.title.alternativeCarbon footprint of organization: a case study of J.S.Union Construction Limited partnershipen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashห้างหุ้นส่วนจำกัด เจ.เอส.ยูเนี่ยน คอนสตรัคชั่น-
thailis.controlvocab.thashคาร์บอนฟุตพริ้นท์-
thailis.controlvocab.thashก๊าซเรือนกระจก-
thailis.controlvocab.thashการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก-
thailis.controlvocab.thashการป้องกันมลพิษ-
thailis.controlvocab.thashการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินและวิเคราะห์ค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของห้างหุ้นส่วนจำกัด เจ.เอส.ยูเนี่ยน คอนสตรัคชั่น ซึ่งเป็นบริษัทรับเหมางานเสาเข็มเจาะที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย การศึกษาครอบคลุมช่วงเวลาระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2565 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565 โดยอ้างอิงแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ที่แบ่งการปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกเป็นสามขอบเขตหลัก ได้แก่ ขอบเขตที่ 1 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงจากกิจกรรมขององค์กร ขอบเขตที่ 2 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมจากการใช้พลังงาน และขอบเขตที่ 3 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมจากแหล่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานขององค์กร จากการศึกษาพบว่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดขององค์กรมีค่าเท่ากับ 885.5311 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี โดยส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากกิจกรรมในขอบเขตที่ 3 ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 92.44% ของการปล่อยทั้งหมด หรือประมาณ 818.5559 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี ขอบเขตนี้ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลายประเภท เช่น การผลิตวัตถุดิบ การขนส่งวัตถุดิบ และการกำจัดของเสีย นอกจากนี้ ขอบเขตที่ 1 ซึ่งเป็นการปล่อยก๊าซจากการใช้เชื้อเพลิงโดยตรงในเครื่องจักรและยานพาหนะมีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู่ที่ 64.0888 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี คิดเป็น 7.24% ขณะที่ขอบเขตที่ 2 ซึ่งเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ไฟฟ้าในสำนักงานและสถานที่ปฏิบัติงานมีปริมาณเพียง 2.8864 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี คิดเป็นสัดส่วนเพียง 0.32% ของการปล่อยทั้งหมด ผลการวิเคราะห์นี้ชี้ให้เห็นว่าองค์กรควรมุ่งเน้นการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขอบเขตที่ 3 เป็นหลัก เนื่องจากเป็นแหล่งที่ปล่อยก๊าซมากที่สุด นอกจากนี้ การลดการใช้เชื้อเพลิงในขอบเขตที่ 1 และการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าในขอบเขตที่ 2 ยังเป็นแนวทางเสริมที่สามารถช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมได้อีกด้วย องค์กรสามารถนำข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการพัฒนากลยุทธ์การจัดการคาร์บอนฟุตพริ้นท์ที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการดำเนินนโยบายที่สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างยั่งยืน เพื่อเสริมสร้างความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาวen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640632025-ณัฐวัฒน์ บุญแสง.pdf11.76 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.