Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80287
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล-
dc.contributor.authorกันยารัตน์ พรหมคำแดงen_US
dc.date.accessioned2024-11-29T05:48:56Z-
dc.date.available2024-11-29T05:48:56Z-
dc.date.issued2566-05-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80287-
dc.description.abstractThe objectives of this action research were to develop and evaluate the mechanisms of safety surveillance for pharmaceutical and health products (PHPs) in Wiang Haeng District, Chiang Mai, by using participatory process among healthcare staffs in community hospital, and village health volunteers (VHVs). This study conducted during May – October 2022 with 4 steps of quality process: Plan-Do-Check-Act (PDCA). The study composed of 2 parts, including 1) Proactive hospital-based surveillance and 2) Active community-based surveillance, by focus group interview among key informants in planning, establish safety surveillance system guideline, select groups of PHPs adverse reactions that should be monitored, manage activities and evaluate results. Proactive hospital-based surveillance mechanism was developed by focus group interview with 10 hospital staffs, including doctors, pharmacists, and nurses, selected by purposive sampling. Assess the results from finding patients affected by PHPs, and the number of incident reports that have been forwarded to the community. Active community-based surveillance mechanism development was conducted by focus group interview with 11 staffs, selected by purposive sampling, consist of community hospital staffs and VHVs. They designed and developed guideline for PHPs safety surveillance system in community which linked to the hospital and conducted by develop-potential skill VHVs. Active community-based surveillance mechanism was evaluated by collect data operations in community from 30 VHVs, including the number of PHPs surveillance in community, and numbers of case finding affected from PHPs by using trigger tool. This study also assessed impact of system on VHVs by using rational drug use literacy (RDUL) tools of Thai people and comparative results of RDUL score between before and after implementation system as one-group pretest-posttest on mean level. The results showed that safety surveillance system for PHPs arising from participatory process among stakeholders between hospital and community. All stakeholders chose PHPs adverse reactions and developed appropriated trigger tools to detect risks from steroids, NSAIDs, sibutramine, and sildenafil. The proactive hospital-based surveillance mechanism was able to find patients affected by PHPs 11 times. Also forwarded all information to the community through the VHVs using the LINE application, to make the community aware of the unsafe news about medicines and health products in the area. Active community-based surveillance operated by VHVs with the survey of 146 households, indicated that there were 15 households using harmful PHPs. A total of 17 cases were screen any harm events by using trigger tool and find out that 2 cases associated with PHPs, and forward data to the hospital. The study of RDU literacy score on VHVs after developing the potential and implementing the surveillance mechanism was significantly higher than before (p< 0.001), which average of 40.76±13.70 and 37.09±12.93, respectively. Development of safety surveillance mechanism for PHPs leads to a system for transferring health products data and linking information between the hospital and the community. In conclusion, Development of safety surveillance mechanism for PHPs between hospitals and communities by multidisciplinary and community network partners, including the potential development of VHVs in rational drug use literacy skills resulting in problem-finding practices, the transfer of information on PHPs uses of patients between hospitals and communities, and effective problem management.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนากลไกการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of safety surveillance mechanisms for pharmaceutical and health products in Wiang Haeng District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashยา -- เวียงแหง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการใช้ยา -- เวียงแหง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการรักษาด้วยยา-
thailis.controlvocab.thashบริการทางการแพทย์ -- การใช้ประโยชน์ยา-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาล – ระบบการจ่ายยา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินกลไกการ เฝ้าระวังยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพของอำเภอเวียงแหง ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ระดับ โรงพยาบาล และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดำเนินการระหว่าง วันที่ 1 พฤษภาคม -31 ตุลาคม 2565 ใช้หลักวงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) จำนวน 2 รอบ ในการพัฒนา 2 กลไก ได้แก่ 1) การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาเชิงรกในโรงพยาบาล และ 2) การเฝ้าระวังความ ปลอดภัยด้านยาเชิงรกในชุมชน พัฒนาทั้ง 2 กลไกโดยสนทนากลุ่มร่วมกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการ ร่วมวางเเผน การสร้างแนวปฏิบัติ คัดเลือกลุ่มอาการไม่พึ่งประสงค์ที่ควรเฝ้าระวัง ดำเนินกิจกรรม และประเมินผล การสร้างกลไกเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาเชิงรุกในโรงพยาบาล ทำการสนทนากลุ่มในสห วิชาชีพ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล จำนวน 10 คน เลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ประเมินผลลัพธ์จาก การค้นหาผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจากยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และจำนวนวนการรายงานเหตุการณ์ที่ได้ ส่งต่อข้อมูลไปยังชุมชน การสร้างกลไกเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาเชิงรุกในชุมชน ทำการสนทนา กลุ่มระหว่างเภสัชกร เจ้าหน้าที่กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม ตัวแทน อสม. และสำนักงาน สาธารณสุขอำเภอ จำนวน 11 คน เลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ร่วมกันออกแบบแนวปฏิบัติการส่งต่อ ข้อมูลสำหรับเครือข่าย กรณีพบการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่เหมาะสมในชุมชน โดยให้ อสม.ที่ได้รับ การพัฒนาทักษะและองค์ความรู้ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นผู้เฝ้าระวังฯ และประเมินผลกลกลไก การเฝ้าระวังฯ เชิงรุกในชุมชน โดยคัดเลือก อสม. ต.เมืองแหง จำนวน 30 คน ให้เป็นผู้ปฏิบัติงาน ติดตามผลลัพธ์ ได้แก่ จำนวนการเฝ้าระวังยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน การค้นหาอาการไม่พึ่ง ประสงค์จากยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยใช้ตัวส่งสัญญาณ จากข้อมูลที่ได้รับส่งต่อจากโรงพยาบาล ร่วมกับการประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของ อสม. ระหว่างก่อนและหลังการนำ กลไกการเฝ้าระวังๆ มาใช้ ผลการวิจัยพบว่า กลไกการเฝ้าระวังฯ เกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องระดับโรงพยาบาล และชุมชน โดยคัดเลือกกลุ่มอาการไม่พึ่งประสงค์ที่ควรเฝ้าระวังจากสารสเตียรอยด์ ยากลุ่ม NSAIDs สารไซบูทรามึน และซิลเดนาฟิล เพื่อพัฒนาเครื่องมือตรวจจับอันตรายจากผลิตภัณฑ์กลุ่มเสี่ยงใน พื้นที่ กลไกการเฝ้าระวังฯ ในโรงพยาบาล สามารถค้นหาผู้ป้ายที่ได้รับผลกระทบจากยาและผลิตลิตภัณฑ์ สุขภาพ ได้ 11 ครั้ง และส่งต่อข้อมูลทั้งหมดไปยังชุมชน ผ่าน อสม. โดยใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ เพื่อให้ ชุมชนได้รับทราบข่าวสารความไม่ปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นพื้นที่ กลไกการเฝ้าระวังฯ ในชุมชน โดย อสม. นำกลไกเฝ้าระวังฯ ไปปฏิบัติ พบว่า อสม. ได้เฝ้าระวังอาการไม่พึ่งประสงค์จากยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน จำนวน 146 ครัวเรือน พบการใช้ผลิตภัณฑ์กลุ่มเสี่ยง จำนวน 15 ครัวเรือน และคัดกรองอาการไม่พึ่งประสงค์จากยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยใช้ตัวส่งสัญญาณ ได้ ทั้งหมด 17 ครั้ง พบผู้ป่วย 2 ราย ที่มีความเสี่ยงจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ และส่งต่อข้อมูลมายัง โรงพยาบาล เพื่อให้สหวิชาชีพได้เข้าไปดูแลผู้ป่วยอย่างเหมาะสม ผลการประเมินความรอบรู้ด้านการ ใช้ยาอย่างสมเหตุผลของ พบว่า ภายหลังการพัฒนาศักยภาพและนำกลไกเฝ้าระวังๆ มาใช้ ทำให้ อส ม. มีคะแนนความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) จาก 37.09 ±12.93 เป็น 40.76 ±13.70 คะแนน (คะแนนเต็ม 52 คะแนน) ผลของกลไกการเฝ้าระวัง ฯ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างโรงพยาบาลและชุมชน ส่งต่อประเด็นปัญหาด้วยกระบวนการ ส่งข้อมูลที่เหมาะกับผู้ปฏิบัติงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การวิเคราะห์ปัญหาและพัฒนากลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยสหสาขาวิชาชีพและภาคี เครือข่ายชุมชน ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำสุขภาพที่เหมาะสมกับบริบทของ พื้นที่ ส่งผลให้เกิดแนวปฏิบัติการค้นหาปัญหา การส่งต่อข้อมูลการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพของ ผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลและชุมชน และการจัดการปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับ ความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงได้en_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631031001 กันยารัตน์ พรหมคำแดง.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.