Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80288
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริตรี สุทธจิตต์ | - |
dc.contributor.advisor | พักตร์วิภา สุวรรณพรหม | - |
dc.contributor.author | กรุณา สุขทอง | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-29T05:53:49Z | - |
dc.date.available | 2024-11-29T05:53:49Z | - |
dc.date.issued | 2566-09-13 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80288 | - |
dc.description.abstract | Methadone is a medication used to treat opioid use disorders. Methadone maintenance therapy is one of the treatment processes under the concept of harm reduction from drug addiction. The government has granted the Ministry of Health permission to expand methadone treatment to cover all areas. The north of Thailand has the highest rate of opioid use disorder. Thanyarak Chiangmai Hospital is a specialized hospital to encourage hospitals in health regions 1 and 2 to provide effective drug treatment. The methadone maintenance therapy (MMT) clinics in Thailand have been implemented since 2018, but there have been many problems and barriers to providing services in MMT. This study aimed to explore the situation of methadone maintenance therapy (MMT) in hospitals in health regions 1 and 2 in northern Thailand. The study analyzed three domains: system input (service delivery, health workforce, health information systems, access to essential medicines, financing, governance, capacity, adopters system, value proposition, wider system); performance (access, coverage, adaptation, continuity); and output of the MMT clinics (retention, safety, quality of life) in health regions 1 and 2. This study is an analytical cross-sectional study. The questionnaire used was developed based on the concept of World Health Organization's six building blocks of health systems and the non-adoption, abandonment, scale-up, spread, and sustainability (NASSS) framework. Hospitals in health regions 1 and 2 in northern Thailand were included. Data were collected between September 1, 2022 and February 1, 2023. This study recruited 98 hospitals from 147, with a response rate of 66.67. Many hospitals have MMT services; some have been operated but are now closed, and some have not started the service yet. There are MMT clinics at all hospital levels. Eighty percent of advanced-level hospitals have the potential to operate the MMT clinics, while 33.33% of standard-level hospitals can operate it. However, there are reported cases of opioid use disorders in many areas, especially where hospitals have been operated but are now closed, and some have not started the service yet. The results showed that the system input found a workforce shortage even if hospitals have MMT clinics. Some hospitals lack healthcare professionals who play an essential role in MMT, including doctors, pharmacists, and nurses. Less than half of the staff are not reiving training in addiction treatment. However,the hospitals that currently have MMT clinics have systeminputs such as govemance, information, methadone and medical supplies, resources, and capability in service. In terms of performance, hospitals that have MMT clinics have service coverage, and staff perceive the benefits of MMT service to improve the quality of care, resulting in resilience and adaptation,even ifthe COVID-19 pandemic had a signiticant impact on MMT. Several MMT clinics modified their work procedures to better accommodate their patients. Most clinics increased take- home methadone doses above the legal maximum for patients with transportation issues. So me hospitals adjust the workforce, resources, institutional support, and service organization to achieve treatment availability and sustainability in MMT. Resulting in improving the retention rate of treatment and patients' quality of life in Thailand. Both hospitals that used to operate the service and hospitals without available services had several bamiers to serving MMT, such as a workforce shortage, a lack of methadone and medical supplies, inconsistency in support and traing for MMT staff, and negative attitudestoward MMT. Moreover, in the hospital that used to operate MMT, the staff was concemed about their knowledge of providing such services and theirsafety. These results revealed the comelation between access and retention, and analysis by Spearman’s rank correlation shows that a correlation coefficient of 0.25 is positive but not statistically significant (p = 0.207). However, the electronic questionnaire lacks patient perspective. It is from a service provider perspective that might have bias. Some data should be triangulated with other sources of reports or additional in-depth interviews for confirm its validity and reliability. This study showed that even if opioid use exists in every area, there is limited service from MMT clinics. Therefore, in the group of hospitals without available services, the focus should be on supporting the system's input. Meanwhile, hospitals that used to operate but are now closed need additional professional addiction training for their existing staff to reopen the MMT clinic. In conclusion, policy implementation and evaluation of MMT clinics should be based on the context of each hospital. General support for MMT service in all hospitals may not effectively promote its success. By applying the NASSS framework, the context complexities were revisited and considered in supporting and implementing MMT clinics for different types of hospitals. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | สถานการณ์ในการรักษาด้วยเมทาโดนระยะยาวของโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 1 และ 2 | en_US |
dc.title.alternative | Situation of Methadone maintenance therapy in hospitals in Health Region 1 and 2 | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | เมทาโดน | - |
thailis.controlvocab.thash | การรักษาด้วยยา | - |
thailis.controlvocab.thash | การใช้ยา | - |
thailis.controlvocab.thash | บริการทางการแพทย์ -- การใช้ประโยชน์ยา | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาล – ระบบการจ่ายยา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เมทาโดนเป็นยาทดแทนสำหรับผู้ใช้สารเสพติดประเภทอนุพันธ์ของฝิ่น การบำบัดด้วยเมทา โดนระชะยาว (MMT) เป็นหนึ่งในชุดบริการตาม Harm Reduction (HR)ซึ่งเป็นมาตรการแก้ไขปัญหา ด้านยาเสพติดด้วยการลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด ตามคู่มือการพัฒนาระบบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขายาเสพติด กระทร วงสาธาธารณสุข กำหนดให้โรงพยาบาลมีบริการ MMT T ให้ ครอบคลุมทุกพื้นที่ เขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยเป็นพื้นที่ระบาดของ สารเสพติดกลุ่มโอปี ออยด์ โรงพยาบาลธัญญารักษ์เชียงใหม่เป็นหน่วยงานที่ช่วยดูแลและสนับสนุนโรงพยาบาลในเขต สุขภาพที่ 1 และ 2 ให้โรงพยาบาลสามารถจัดบริการ MMT ได้ แม้ว่าบริการ MMT จะมีนโยบายลงสู่ พื้นที่ แต่พบว่ายังมีข้อจำกัดและต้องปรับตามบริบทของแต่ละโรงพยาบาล การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การรักษาด้วยเมทาโดนระยะยาว (MMT) ใน ด้านองค์ประกอบการให้บริการ (ระบบบริการ MMT, กำลังคนด้านสุขภาพ, ระบบข้อมูลสารสนเทศ, ยาและเวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา, งบประมาณ, ธรรมากิบาลและการมีส่วนร่วม, ขีดความสามารถการ ให้บริการ MMT, ทัศนคติของผู้ปฏิบัติงานต่อ MMMT, การให้คุณค่าของ MMT และบริบททางสังคม และกฎหมาย) ประสิทธิภาพการบริการ (การเข้าถึงบริการ, ความครอบคลุมของบริการ, การปรับตัว ของบริการ และความต่อเนื่องในการบริการ)และผลลัพธ์ของการบริการ (การคงอยู่ในระบบการรักษา ของผู้เข้ารับการบำบัด,ความปลออดภัยจากการรักษา,ผู้เข้ารับการบำบัดที่กลับไปไช้ชีวิตร่วมกับ ครอบครัวและสังคมได้ปกติ) ของโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 1 และ2 การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ สำรวจสถานการณ์การให้บริการ MMT โดยใช้แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม กรอบแนวคิด ของระบบสุขภาพ Six building blocks และแนวคิด Non-adoption, Abandonment, Scale-up, Spread and Sustainability (NASSS) ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ โรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 1 และ 2 ของประเทศไทย สำรวจแบบสอบถามระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2565 ถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 จากการเก็บรวบรวมข้อมูล มีจำนวนโรงพยาบาลที่ตอบแบบสอบถาม 98 แห่ง จากจำนวน ทั้งสิ้น 147แห่ง คิดเป็นอัตราการตอบกลับ ร้อยละ 66.67 ปัจจุบันพบสถานะของการให้บริการ MMT ทั้งกำลังดำเนินการอยู่เคยมีมีบริการ MMT แต่หยุดดำเนินการแล้วและยังไม่มีบริการ MMT ใน การศึกษาพบบริการ MMT ในทุกระดับศักยภาพของสถานพยาบาล โรงพยาบาลขนาดใหญ่ มีศักยภาพ ในการเปิดให้บริการ MMT ร้อยละ 80 และโรงพยาบาลทั่วไปมีศักยภาพในการเปิดให้บริการ MMT ร้อยละ 33.33 อย่างไรก็ตาม ยังพบว่ามีรายงานผู้ป่วยโอปีออยด์ ซึ่งนับเป็นภาระโรค ในพื้นที่จำนวน มากจำเป็น รวมถึงในพื้นที่ของโรงพยาบาลที่เคยมี MMT และโรงพยาบาลที่ไม่มีบริการ MMT ผลการศึกษาพบว่าด้านองค์ประกอบการให้บริการ โรงพยาบาลส่วนใหญ่ยังขาดแคลน กำลังคนในทุกวิชาชีพ แม้ในโรงพยาบาลที่มี MMT แล้ว โดยเฉพาะกำลังคนหลัก ได้แก่ แพทย์ เภสัช กร และพยาบาล ทั้งนี้พบการผ่านการอบรมหลักสูตรยาเสพติดยังไม่ถึงครึ่งหนึ่งในทุกวิชาชีพ อย่างไร ก็ตามโรงพยาบาลที่มี MMT มีความพร้อมทางด้านองค์ประกอบการให้บริการ MMT อาทิ มีการ อภิบาลระบบบริการ MMT ระบบข้อมูลสารสนเทศ ยาและเวชภัณฑ์ที่มีไม่ใช่ยา งบประมาณ สนับสนุน และมีขีดความสามารถในการให้บริการ MMT ด้านประสิทธิภาพของบริการ MMT โรงพยาบาลที่มี MMT มีความครอบคลุมของบริการ บุคลากรสะท้อนถึงปัจจัยที่สนับสนุนการขอมรับและการขยายบริการอย่างยั่งยืนในชุมชน ตลอดจนมี การปรับตัวของบริการเพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด เช่น การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด- 19 เพื่อสนับสนุนให้เกิดความเข้าถึงและความต่อเนื่องของบริการ MMT ส่งผลต่อผลลัพธ์ของบริการ ให้ผู้ป่วยคงอยู่ในระบบการรักษา เกิดความปลอดภัย สามารถให้ชีวิตร่วมกับครอบครัว และดำรงชีพ อยู่ในสังคมได้ โรงพยาบาลที่ไม่มี MMT และเคยมีบริการ MMT พบข้อจำกัดด้านกำลังคน ขาดระบบบ ข้อมูลสนเทศ ขาดยาเมทาโดน ขาดงประมาณ โดยเฉพาะงบประมาณในส่วนการพัฒนาศักยภาพของ บุคลากรสำหรับ MMT นอกจากนี้โรงพยาบาลที่ไม่มี MMT และโรงพยาบาลที่เคยมี MMT การเห็น คุณคำของบุคลากรเป็นมิติที่ต่ำที่สุดเมื่อเมื่อเปรียบเทียบกับการเห็นคุณค่าของผู้รับบริการ ครอบครัว และ ชุมชน ยังมีประเด็นที่ยังเป็นที่กังวลของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานว่าตนขาดความรู้และความเชี่ยวชาญใน การให้บริการ MMT และโรงพยาบาลที่เคยมี MMT ยังมีความกังวลเรื่องความปลอดภัยส่วนบุคคลจาก การให้บริการผู้ป่วย ซึ่งทำให้เป็นอุปสรรคของการดำเนินงาน MMT จากการหาความสัมพันธ์ระหว่าง การเข้าถึงบริการ MMT และการคงอยู่ในระบบการรักษาของผู้เข้ารับการบำบัด ด้วยการวิเคราะห์ สหสัมพันธ์ Speaman's rank comelation พบว่ามีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (rs) เท่ากับ 0.25แสดงว่า มี ความสัมพันธ์ในทิศทางบวก แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.207) อย่างไรก็ตามแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ยังขาดมิติของผู้ป่วย ซึ่งในการศึกษาได้รับมุมมอง ของผู้ป่วยผ่านผู้ปฏิบัติงาน MMT อาจทำให้ได้รับข้อมูลที่ไม่เป็นจริง หรือเกิดอคติได้ ในส่วนของบาง ข้อมูลอาจต้องพิจารณาร่วมกับรายงานหรือผลลัพธ์ด้านตัวชี้วัด หรือใช้วิธีอื่นร่วมในบางประเด็น เช่น การสัมภาษณ์ เพื่อขืนขันข้อมูลและเพิ่มความแม่นยำ จากการศึกษาจะเห็นว่าแม้พบผู้ป่วยโอปีออยด์ใน ทุกระดับของโรงพยาบาล แต่การให้บริการ MMT ยังมีจำกัด ดังนั้น หากจะขับเคลื่อนให้เกิดการ ดำเนินการ ในกลุ่มโรงพยาบาลที่ไม่มี MMT ควรได้รับการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานของบริการเพื่อให้ สามารถจัดตั้งบริการ MMT ขึ้นได้ ส่วนโรงพยาบาลที่เคยมี MMT แต่หยุดการดำเนินการแล้ว อาจมี ต้นทุนด้านกำลังคนในระดับหนึ่ง แต่ต้องมีการเตรียมความพร้อมในด้านศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน ด้วยการอบรมหลักสูตรยาเสพติด เพื่อให้โรงพยาบาลสามารถกลับมาให้บริการ MMT ได้ดังเดิม ในการออกแบบนโยบายลงสู่การ ปฏิบัติ และการประเมินผลลัพธ์บริการอาจต้องมีการ ทบทวนโดยคำนึงถึงข้อจำกัดของพื้นที่ หรือปัจจัยอื่น ๆ ที่แตกต่างกันในแต่ละบริบท ในการให้การ สนับสนุนบริการ MMT รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งแบบสำเร็จรูปอาจไม่เอื้อต่อการพัฒนาบริการ MMT ที่ตรงจุด หากแต่ต้องมองแบบแนวคิด NASSS ซึ่งเป็นแนวคิดในการนำนวัตกรรมไปไปใช้อย่างมี ข้อจำกัด ที่ชี้ให้เห็นความซับซ้อนของการพัฒนานวัตกรรมที่ต้องพิจารณาปัจจัยในหลายระดับ | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631031019 กรุณา สุขทอง.pdf | 2.82 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.