Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39436
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์-
dc.contributor.authorวิรุตติ์ วิเชยันต์en_US
dc.date.accessioned2016-07-22T09:26:14Z-
dc.date.available2016-07-22T09:26:14Z-
dc.date.issued2015-10-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39436-
dc.description.abstractA descriptive study, used qualitative and quantitative combination methods to collect data, aim to study knowledge level and attitudes on surveillance, prevention and control of diabetes mellitus and hypertension of the village health volunteers (VHVs) in Tambon Li, Li district, Lamphun Province. Data were collected from 326 VHVs by using questionnaires. Descriptive statistics were used. And data were collected by in-depth interviews from 18 VHVs and analyzed by using inductive method. The results of this study found that the knowledge level of the samples on surveillance prevention and control of diabetes mellitus and hypertension in the overall were good (70.55 percent). And the study found that the highest score of knowledge level was on disease prevention (86.50 percent), followed by surveillance (70.25 percent), and the least was the disease control (40.80 per cent). Most of VHVs had a good level of attitude (88.96 percent), on surveillance, prevention and control of diabetes mellitus and hypertension. The data from in-depth interviews revealed that most of VHVs had opinions that such operation is useful. It is convenient to the public service, and it covered in all health groups included normal group risk group and patient group. Barriers to the implementation were found at the beginning of the operation. These included the acceptance of VHVs from the local people, the available equipment such as the blood pressure monitor and blood sugar meters which were sometimes inadequate. Key success factors were that most people in the area cooperated very well for the activities. The work was operate and done on the appropriate time. Tools, materials and equipment were available for screening. Then, health officials could operate and coordinate their works well. The suggestion from the VHVs in order to develop the operation was to build credibility and trust in the VHVs work by the health officials. The health officials should be involved in the operation in the early stages of activity in order to clarify understanding and fostering public confidence with VHVs works, and to support the work including materials and equipment used for screening. They should develop VHVs both knowledge and skills continuously.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรู้และทัศนคติต่อการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeTeacher Competency Development in Secondary Educational Service Area Office 35en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเป็นเชิงพรรณนา โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพร่วมกัน เพื่อทำการศึกษาระดับความรู้และทัศนคติต่อการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ในพื้นที่ตำบลลี้ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน รวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามในอสม.จำนวน 326 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกอสม.จำนวน 18 คน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลแบบหาข้อสรุปแบบอุปนัย ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ พบว่า ระดับความรู้ของกลุ่มตัวอย่างต่อการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในภาพรวมส่วนใหญ่แล้วอยู่ในระดับที่ดีมาก (ร้อยละ70.55) และพบว่า มีความรู้ในด้านการป้องกันโรคมากที่สุด (ร้อยละ 86.50) รองมาคือด้านการเฝ้าระวังโรค (ร้อยละ70.25) และน้อยที่สุดด้านการควบคุมโรค (ร้อยละ40.80) สำหรับทัศนคติของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่ดี (ร้อยละ88.96) ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จากข้อมูลการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่าโดยส่วนใหญ่แล้วอสม.มีความคิดเห็นว่าการดำเนินงานดังกล่าวมีประโยชน์ ทำให้ประชาชนสะดวกที่จะมารับบริการ และสามารถให้การดูแลสุขภาพได้อย่างทั่วถึงทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย สำหรับปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อการดำเนินงาน พบว่ามีเพียงช่วงเริ่มแรกของการดำเนินงานเท่านั้นซึ่งก็คือ การให้ความมั่นใจ เชื่อมั่นที่มีต่อตัว อสม.ที่ยังไม่เป็นที่ยอมรับของประชาชนในพื้นที่ และอุปกรณ์ เครื่องมือที่พร้อมใช้ในการดำเนินงานได้แก่ เครื่องวัดความดัน และเครื่องมือตรวจวัดค่าระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งบางครั้งมีไม่เพียงพอ ส่วนปัจจัยแห่งความสำเร็จคือการที่ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี การทำงานที่เน้นการใช้ช่วงเวลาที่เหมาะสมกับประชาชน มีเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ที่มีความพร้อมใช้ในการคัดกรองและการที่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้การประสานการทำงานที่ดี โดยกลุ่มตัวอย่างมีข้อแนะนำเพื่อเป็นการพัฒนาการดำเนินงานดังกล่าว คือ การสร้างความน่าเชื่อถือและไว้วางใจในการปฏิบัติงานแก่ อสม.โดยที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานในช่วงเริ่มแรกของกิจกรรม เพื่อชี้แจงความเข้าใจและการทำให้เกิดความเชื่อมั่นของประชาชนกับการทำงานของ อสม.ในพื้นที่ พร้อมทั้งให้การสนับสนุนการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการคัดกรอง มีการพัฒนาศักยภาพทั้งด้านความรู้และทักษะของอสม.อย่างต่อเนื่องen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.docxAbstract (words)179.23 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 254.91 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.