Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39489
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.วรลักษณ์ หิมะกลัส-
dc.contributor.advisorผศ.ดร.ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์-
dc.contributor.authorณีรณิชน์ หล้าอูปen_US
dc.date.accessioned2016-08-15T05:19:57Z-
dc.date.available2016-08-15T05:19:57Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39489-
dc.description.abstractThe objectives of this study are; (1) to study behaviors of working-age people in taking the health screening, (2) to evaluate expenses for working-age people in taking the health screening, and (3) to find out the causes of refusal to attend health screening. Data used in this study are 400 working-age people an age between 25-60 in Mueang district, Chiang Mai province assessed by questionnaires. Data analysis was based on the results of descriptive statistics. The findings revealed that working-age people taking the health screening compare with people denied attending health screening were female between the ages of 45 - 60; their places of birth were in Chiang Mai province, marital status was married. They worked as the government official or worked in the government business enterprises, their education was higher than the bachelor’s degree level, and their incomes were in range of 20,001 – 25,000 baht. Universal coverage scheme was government, state enterprise officer, and people with underlying disease. On consideration of behaviors and expenses in health screening, it was found that health screening was based on health check-up packages. The frequency of regular health maintenance checkup was every 1 year. The health screening was held at workplace. The average expense of health screening was 1,003.30 baht. The reasons to attend health screening, that are, the health screening were relied on work-place rules and company policies; people took the health screening regarding their health welfares. And it also was considered as public health surveillance to provide rapid early warning. As for the reason why some people denied attending health screening, is that, there is no physical diseases were found. However, over the next 1 - 3 years, those people tend to take the health screening.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectบริการตรวจสุขภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.titleพฤติกรรมการเข้ารับการตรวจคัดกรองสุขภาพคนวัยทำงานในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeBehaviors of working-age people in taking the health screening test in Mueng District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc613-
thailis.controlvocab.thashบริการตรวจสุขภาพ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashติกรรมสุขภาพ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 613 ณ374พ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเข้ารับการตรวจคัดกรองสุขภาพ รวมถึงศึกษาค่าใช้จ่ายในการตรวจคัดกรองสุขภาพของกลุ่มคนวัยทำงาน และสาเหตุที่ไม่เข้ารับการตรวจคัดกรองสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ กลุ่มคนวัยทำงานอายุระหว่าง 25-60 ปี ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษากลุ่มที่เข้ารับการตรวจคัดกรองและไม่เข้ารับการตรวจคัดกรองสุขภาพพบว่า เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 45-60 ปี มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ สถานภาพสมรส อาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ จบการศึกษาสูงสุดในระดับสูงกว่าปริญญาตรี มีรายได้ระหว่าง 20,001 – 25,000 บาท สิทธิประกันสุขภาพคือ สิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ และ เป็นผู้มีโรคประจำตัว เมื่อพิจารณาพฤติกรรมและค่าใช้จ่ายในการตรวจคัดกรองสุขภาพ พบว่า เป็นการตรวจคัดกรองสุขภาพตามแพ็คเกจสุขภาพ มีความถี่ในการตรวจทุกๆ 1 ปี สถานที่ทำงานจัดให้มีการตรวจคัดกรองสุขภาพ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยการตรวจคัดกรองอยู่ที่ 1,003.30 บาท สำหรับสาเหตุของการตรวจคัดกรองคือเป็นการตรวจตามระเบียบ/นโยบายบริษัท โดยเป็นการตรวจตามสวัสดิการที่ตนเองมี และเห็นว่าเป็นการช่วยเฝ้าระวังป้องกันการเกิดโรคตั้งแต่เนิ่นๆ สำหรับสาเหตุของผู้ที่ไม่เข้ารับการตรวจคัดกรองสุขภาพ ได้ให้เหตุผลว่า ไม่พบความความผิดปกติของร่างกาย และ ในอีก 1-3 ปีข้างหน้ามีแนวโน้มเข้ารับการตรวจคัดกรองสุขภาพen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)180.7 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract252.21 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.