Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45990
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพวรรณ ทั่งมั่งมี | - |
dc.contributor.author | ศุภลักษณ์ รอดแจ่ม | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-04T08:35:10Z | - |
dc.date.available | 2018-04-04T08:35:10Z | - |
dc.date.issued | 2557-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45990 | - |
dc.description.abstract | The study of the temples ‘museum management in Mueang district, Lampang province aims to manage the temples ‘museum as learning resource of Lampang’s cultural identity. From the survey, it is found that there are 8 temples ‘museum in Mueang district, Lampang province. However, only 3 following sample of temples ‘museum were studied: 1. KhelangNakhon Museum, PhraChedi Sao Lung temple 2. LannaMuseum,PhraKaeo Don Tao Temple 3.WatLampangKlang (east side) Museum. The result of the study found that in temples ‘museum in Mueang district, Lampang province, there are 2 problems which cause poor service. First, is the management itself. This is because temples’ museums are short in the number of people providing good care and service leading to the problem of being unable to open for public visit and constant maintenance. Second, is the museums’ displays as they are disorganized and lack of suitable learning media leading to then being an unsuccessful learning resource. Therefore, the patterns and methods of temples ‘museum management in Mueang district, Lampang province were proposed by arranging organized display correspond to evidences kept in each temples ‘museum. In addition, continuity format of display should be managed for the purpose of conducting knowledge that shows Lampang’s cultural identity. Furthermore, community should be managed to get involved in operation. Finally, the collaboration with local administration for support and sponsorship should also be considered in order to create the temples ‘museum as resource to properly learn about story of locality. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พิพิธภัณฑ์ | en_US |
dc.subject | อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | วัด | en_US |
dc.title | การจัดการพิพิธภัณฑ์ของวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของจังหวัดลำปาง | en_US |
dc.title.alternative | The Temples’ Museum Management in Mueang District, Lampang Province for Learning Resources of Lampang’s Cultural Identity | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 069.0959367 | - |
thailis.controlvocab.thash | พิพิธภัณฑ์ -- เมือง (ลำปาง) | - |
thailis.controlvocab.thash | การอนุรักษ์วัฒนธรรม -- เมือง (ลำปาง) | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 069.0959367 ศ467ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาการจัดการพิพิธภัณฑ์วัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดการให้เป็นแหล่งเรียนรู้อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของจังหวัดลำปางจากการสำรวจพบว่าพิพิธภัณฑ์ของวัดในเขตอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง มีจำนวน 8 แห่ง ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ ได้ทำการศึกษาตัวอย่างพิพิธภัณฑ์วัดจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. พิพิธภัณฑสถานเขลางคนคร วัดพระเจดีย์ซาวหลัง 2. พิพิธภัณฑสถานลานนา วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม 3. พิพิธภัณฑ์วัด ลำปางกลางตะวันออก ผลการศึกษาพบว่า พิพิธภัณฑ์วัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง มีปัญหา 2 ส่วน ที่ทำให้ การบริการพิพิธภัณฑ์ไม่บรรลุเป้าหมาย ส่วนแรก คือ การบริหารจัดการ เนื่องจาก วัดไม่มีกำลังคนที่จะดูแลและบริการ จึงทำให้ไม่สามารถเปิดบริการและบำรุงรักษาพิพิธภัณฑ์วัดได้อย่างสม่ำเสมอส่วนที่สอง คือ การจัดแสดงของพิพิธภัณฑ์ ที่มีสภาพการจัดแสดงที่ไม่เป็นระบบ ไม่มีเรื่องราว และสื่อความรู้ที่เหมาะสม จึงทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายของการเป็นแหล่งเรียนรู้เท่าที่ควร ในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอรูปแบบและวิธีการจัดการพิพิธภัณฑ์วัดในเขตอำเภอเมืองลำปางให้มีการจัดแสดงที่เป็นระบบและเหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุหลักฐานที่มีอยู่ในพิพิธภัณฑ์วัดแต่ละแห่ง โดยควรมีรูปแบบการดำเนินเรื่องของการจัดแสดงเพื่อสื่อความรู้ที่แสดงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของจังหวัดลำปาง รวมทั้งวิธีการบริหารจัดการควรให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ และประสานความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สนับสนุนช่วยเหลือ เพื่อให้พิพิธภัณฑ์วัดสามารถ เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องราวของท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสมต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Humanities and Social Sciences: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 155.97 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 890.81 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 252.83 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 1.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 324.5 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 6.pdf | CHAPTER 6 | 192.59 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 297.5 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 658.61 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 180.36 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.